Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความหมายของสถิติศาสตร์และข้อมูล - Coggle Diagram
ความหมายของสถิติศาสตร์และข้อมูล
สถิติ = statistics
รากศัพท์เดียวกับค ําว่ํา “state”
Gottfried Achenwall เป็นผู้บัญญัติขึ้นในปี ค.ศ.
1749
ความหมายของสถิติ
โดยทั่วไปมี 2 ความหมาย
ตัวเลขหรือกลุ่มตัวเลขที่แทนข้อเท็จจริงเกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่ง หรือข้อมูลที่มีการเปลี่ยนแปลง
วิชาหรือศาสตร์ที่เป็นทั้งวิทยาศาสตร์และศิลปะศําสตร์ที่ว่ําด้วยการศึกษาข้อมูล
การเก็บรวบรวมข้อมูล
การนําเสนอข้อมูล
การวิเคราะห์ข้อมูล
การตีความหมํายข้อมูล
ประโยชน์ของสถิติศาสตร์
ด้านการควบคุมคุณภาพสินค้า
การควบคุมคุณภาพสินค้าที่ผลิตให้มีมาตรฐานตามที่กําหนด
ด้านผู้บริโภค
การตัดสินใจเลือกซื้อสินค้าสามารถนําสถิติศาสตร์มาใช้ โดยเก็บข้อมูลเกี่ยวกับสินค้าที่ต้องการแล้วนํา
ข้อมูลที่ได้ไปวิเคราะห์หรือเปรียบเทียบข้อมูลจากร้านค้าต่างๆ
ด้านการผลิต
การวางแผนผลิตสินค้าออกจําหน่ายควรเก็บข้อมูลและวิเคราะห์ว่าสินค้านั้นเป็นที่ต้องการของตลาดหรือไม่
ด้านการพยากรณ์
การพยากรณ์เกี่ยวกับฝนโดยอาศัยข้อมูลจากกรมอุตุนิยมวิทยา ซึ่งใช้ข้อมูลทั้งในอดีตและปัจจุบันตลอดจน วิธีวิเคราะห์ทางสถิติเข้ามาช่วย
ด้านการเกษตร
นําข้อมูลเกี่ยวกับครัวเรือนที่ทําการเกษตรมาวิเคราะห์เพื่อให้คําแนะนําในการวางแผนการเพาะปลูกกับ
เกษตรกรในฤดูกาลถัดไปได้
ด้านชีวิตประจําวัน
จดบันทึกรายรับรายจ่ายในแต่ละเดือนเพื่อใช้ในการวิเคราะห์พฤติกรรมการใช้จ่าย
ด้านการศึกษา
นําจํานวนบุคลากรทางการศึกษา มาวิเคราะห์เพื่อพัฒนาการศึกษา
คําศัพท์สําคัญที่ควรรู้ในวิชาสถิติ
ประชากร ( Population )
ตัวอย่าง ( Sample )
ตัวแปร ( Variable )
ข้อมูล ( Data )
พารามิเตอร์( Parameter )
สถิติหรือค่าสถิติ ( Statistic )
ประเภทของสถิติ
สถิติเชิงพรรณนา ( Descriptive Statistics )
เป็นสถิติที่เกี่ยวกับการเก็บรวบรวมข้อมูลในรูปแบบต่างๆ เช่น
ตาราง แผนภูมิ กราฟ หรือรูปภาพ เป็นต้น และยังเกี่ยวข้องกับการคํานวณค่าสถิติต่างๆ
สถิติเชิงอนุมาน ( Inferential Statistics )
สถิติในส่วนนี้เป็นผลมาจากกํารรวมทฤษฎีความน่าจะเป็นกับการ
วิเคราะห์ข้อมูลเข้าด้วยกัน
ข้อมูลและประเภทของข้อมูล
ความหมายข้อมูล
ข้อความจริง ซึ่งอาจจะเป็นตัวเลขหรือข้อความก็ได้
ประเภทของข้อมูล
การจําแนกประเภทของข้อมูลจากวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลและจากลักษณะข้อมูล
ข้อมูลปฐมภูมิ ( primary data )
ข้อมูลทุติยภูมิ ( secondary data )
การจําแนกประเภทของข้อมูลตามลักษณะของข้อมูล
ข้อมูลเชิงปริมาณ ( quantitative data)
ข้อมูลเชิงคุณภาพ ( qualitative data)
การจําแนกประเภทของข้อมูลตามระยะเวลาที่จัดเก็บ
ข้อมูลอนุกรมเวลา ( time series data )
ข้อมูลตัดขวาง ( cross – sectional data )
วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล
การเก็บรวบรวมข้อมูลปฐมภูมิ
การสํามะโน ( census )
การสํารวจจากกลุ่มตัวอย่าง ( sample survey )
วิธีสัมภาษณ์
การกรอกแบบสอบถาม
วิธีสังเกต
วิธีสอบถามทางโทรศัพท์
วิธีทดลอง
วิธีเก็บรูปรวมข้อมูลทุติยภูมิ
เป็นการเก็บรวบรวมข้อมูลจํากแหล่งที่มีผู้อื่นเก็บรวบรวมไว้แล้ว โดยการคัดลอก