Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์ (Hypertensive disorders of pregnancy) :smiley:,…
ภาวะโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์ (Hypertensive disorders of pregnancy) :smiley:
ระดับความดันโลหิตในสตรีตั้งครรภ์จะต่ำกว่าขณะที่ไม่ตั้งครรภ์ และจะต่ำสุดในระยะ
ไตรมาสที่ 2 ของการตั้งครรภ์ หลังจากนั้นจะค่อยๆ เพิ่มขึ้นในไตรมาสที่ 3
ความหมายของภาวะโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์
ภาวะความดันโลหิตสูง (hypertension)
(systolic BP) อย่างน้อย 140 mmHg
diastolic BP) อย่าง
น้อย 90 mmHg.
โดยวัด 2 ครั้งห่างกันอย่างน้อย 4 ชั่วโมง
ภาวะความดันโลหิตสูงเนื่องจากการตั้งครรภ์ (Pregnancy Induced Hypertension: PIH)
พบในระยะครึ่งหลังของการตั้งครรภ์
โดยรวมแล้วหมายถึงภาวะ gestational
hypertension, preeclampsia และ eclampsia
ภาวะความดันโลหิตสูงหลังคลอด (postpartum hypertension)
ความดันโลหิตสูงขึ้นในช่วง 2 สัปดาห์
หลังคลอด ถึง 6 เดือนหลังคลอด จากนั้นความดันโลหิตกลับสู่ปกติในปลายปีแรก
ชนิดของภาวะความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์
ความดันโลหิตสูงจากการตั้งครรภ์ (gestational hypertension)
หลังอายุครรภ์ 20 สัปดาห์ โดยไม่มีโปรตีนใน
ปัสสาวะ
โปรตีนในปัสสาวะน้อยกว่า 300 mg. ในปัสสาวะในปัสสาวะ 24 ชั่วโมง
ความดัน
โลหิตกลับสู่ระดับปกติภายใน 12 สัปดาห์หลังคลอด
ความดันโลหิตสูงเรื้อรัง (chronic/ preexisting hypertension)
ภาวะความดัน
โลหิตสูงที่เป็นมาก่อนการตั้งครรภ์
วินิจฉัยได้ก่อนอายุครรภ์ 20 สัปดาห์
3.ครรภ์เป็นพิษ หรือ ภาวะครรภ์เป็นพิษระยะก่อนชัก (preeclampsia)
กลุ่มอาการ
(syndrome) ของความดันโลหิตที่พบครั้งแรกในขณะตั้งครรภ์หลังอายุครรภ์ 20 สัปดาห์
ครรภ์เป็นพิษระยะชัก (eclampsia)
โดยหา
สาเหตุของการชักไม่ได้ ทั้งนี้การชักไม่ได้เกิดจากสาเหตุอื่น
เช่น ลมบ้าหมู หรือโรคทางสมอง
ครรภ์เป็นพิษซ้อนทับกับความดันโลหิตสูงเรื้อรัง (preeclampsia superimposed on
การวินิจฉัยภาวะ superimposed preeclampsia
ในสตรีความดัน
โลหิตสูงเรื้อรังที่ไม่เคยมีโปรตีนในปัสสาวะก่อนอายุครรภ์ 20 สัปดาห์
ภาวะครรภ์เป็นพิษก่อนระยะชัก (Preeclampsia)
ความดันโลหิตสูง
Systolic BP มากกว่า140 mmHg
diastolic BP มากกว่า 90 mmHg.
ความดันโลหิตสูงวิกฤต
Systolic BP มากกว่า160 mmHg.
diastolic BP .มากกว่า110 mmHg
มีโปรตีนในปัสสาวะ
โปรตีนในปัสสาวะอย่างน้อย 300 มิลลิกรัมในปัสสาวะ 24 ชั่วโมง
เกล็ดเลือดต่ำ
เกล็ดเลือดต่ำกว่า 100,000 ต่อไมโครลิตร
การทำงานของไตผิดปกติ
ค่า serum creatinine สูงกว่า 1.1 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตร
ค่าเอนไซม์
(AST)(SGOT)(ALT)(SGPT)
สูงกว่าค่าปกติ 2 เท่าขึ้นไป
อาการทางสมอง
ปวดศีรษะ ซึม หรือหมดสติ
อาการทางตา
ตาพร่ามัว หรือมีจุดบอดในลานสายตา
ภาวะน้ำท่วมปอด
ไม่พบ
การตรวจโดย urine dipstickโปรตีนในปัสสาวะ (proteinuria)สตรีตั้งครรภ์มาตรวจครรภ์ แบ่งเป็น 5 ระดับ
Trace = มีเพียงเล็กน้อย (น้อยกว่า 300 มิลลิกรัม/ลิตร)
+1= 30 มิลลิกรัม%
+2= 100 มิลลิกรัม%
+3= 300 มิลลิกรัม%
+4= มากกว่า 1000 มิลลิกรัม% (1 กรัม)
การประเมิน
ความรุนแรงของภาวะ preeclampsia ออกเป็น 2 ประเภท
preeclampsia without severe features
BP=160มากว่า110
โปรตีนในปัสสาวะ
ไม่มี หรือมีผลบวก
ปวดศีรษะ
ไม่มี
อาการทางสายตา
ไม่มี
ปวดใต้ลิ้นปี่และชายโครงขวา
ไม่มี
ปัสสาวะออกน้อย (oliguria)
ไม่มี
convulsion
ไม่มี
Serum creatinine
ปกติ
(Thrombocytopenia)(<100,000/L)
ไม่มี
Serum transaminease elevation
สูงเล็กน้อย
(pulmonary edema
ไม่มี
ทารกเจริญเติบโตช้า
ไม่มี
อาการที่เกิดพบเมื่ออายุครรภ์
ระยะหลังของการตั้งครรภ์
แนวทางการรักษา
ควรรับไว้รักษาในโรงพยาบาล
ตรวจโปรตีนในปัสสาวะ 24 ชั่วโมง ควรตรวจอย่างน้อย 3 วัน
ตรวจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง เพื่อประเมินหรือยืนยันอายุครรภ์
ให้นอนพัก (bed rest) ไม่จำเป็นต้องให้ยากล่อมประสาท
กรณีผลตรวจอยู่ในเกณฑ์ปกติ สามารถให้สตรีตั้งครรภ์กลับบ้านได้
นัดตรวจครรภ์ทุก 1-2 สัปดาห์ ตามความรุนแรงของโรค
พิจารณาให้ยุติการตั้งครรภ์
ยืนยันด้วย BPP ผลเป็น non-reassuring fetal testing
โรคมีการเปลี่ยนแปลงเป็น preeclampsia with severe features
การพยาบาลสตรี
ดูแลให้นอนพักบนเตียง (bed rest) ในท่านอนตะแคงซ้าย
ประเมินสัญญาณชีพ โดยเฉพาะความดันโลหิตทุก 4 ชั่วโมง
เฝ้าระวัง ติดตาม อาการและอาการแสดงของ preeclampsia ที่รุนแรงขึ้น
preeclampsia
with severe features
BP=160น้อยกว่า110
โปรตีนในปัสสาวะ
ไม่มี หรือมีผลบวก
ปวดศีรษะ
มี
อาการทางสายตา
มี
ปวดใต้ลิ้นปี่และชายโครงขวา
มี
ปัสสาวะออกน้อย (oliguria)
มี
ชัก (convulsion)
มี
Serum creatinine
พิ่มสูงขึ้น
(Thrombocytopenia)(<100,000/L)
มี
Serum transaminease elevation
สูงมาก
pulmonary edema)
มี
ทารกเจริญเติบโตช้า
มี
อาการที่เกิดพบเมื่ออายุครรภ์
ระยะแรกของการตั้งครรภ์
การรักษา
ต้องรับไว้รักษาในโรงพยาบาลทุกราย
ประเมินอาการแสดงของ Mg toxicity เป็นระยะ อย่างน้อยชั่วโมงละครั้ง
ประเมินความดันโลหิตทุก 15 นาที
ส่งตรวจ blood testing
ตรวจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง เพื่อยืนยันอายุครรภ์
ในการรักษาแบบเฝ้าระวัง ให้ตรวจ NST ทุกวัน
การพยาบาลสตรี
(absolute bed rest) โดยจัดสิ่งแวดล้อมให้เงียบสงบพื่อลดการกระตุ้นของสมองส่วนกลาง
ประเมินสัญญาณชีพ โดยเฉพาะความดันโลหิตทุก 1 ชั่วโมง
ประเมินอาการนำก่อนการชัก
บันทึกปริมาณสารน้ำเข้าและออกในแต่ละวัน
สาเหตุและพยาธิกำเนิดของภาวะความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์
ระยะที่ 1 ระยะก่อนแสดงอาการ (preclinical หรือ asymptomatic stage)
เป็นระยะที่เกิด
ความผิดปกติที่รก
เกิดขึ้นตั้งแต่ระยะแรกของการตั้งครรภ์โดยการพัฒนาการตามปกติของรก
ระยะที่ 2 ระยะแสดงอาการ (clinical stage)
รกที่ขาดออกซิเจนจะมีการหลั่งสารต่าง ๆ
ออกมาในกระแสเลือด
สาเหตุและปัจจัยเสี่ยง
สตรีอายุมากขึ้นตั้งแต่ 35 ปีขึ้นไป ทั้งสตรีที่ไม่เคยผ่านการคลอด และเคยผ่านการคลอด
มาแล้ว
ดัชนีมวลกายตั้งแต่ 30 kg/m 2 ขึ้นไป หรืออ้วน
ประวัติพันธุกรรมครรภ์เป็นพิษ
ประวัติมีความเจ็บป่วยทางอายุรกรรมที่เกี่ยวข้อง
type I หรือ type II
(thrombophilia)
ภาวะครรภ์เป็นพิษระยะชัก (eclampsia)
ระยะของการชัก
ระยะก่อนชัก (Premonitoring stage)
กระสับกระส่าย ตามองนิ่งอยู่กับที่
ระยะเริ่มแรกของอาการชัก (Stage of invasion)
ริมฝีปากเบี้ยว มุมปากกระตุก
ระยะชักเกร็ง (Stage of contraction หรือ tonic stage)
กล้ามเนื้อที่ช่วยการหายใจหดรัดตัวมาก
ระยะชักกระตุก (Stage of convulsion หรือ clonic stage)
การกระตุกของ
กล้ามเนื้อทั่วร่างกายอย่างแรง
ระยะหมดสติ (coma หรือ unconscious)
นอนนิ่งไม่
เคลื่อนไหวอยู่ในสภาพหมดแรง
อาจมีอาการหยุดหายใจเป็นบางครั้ง
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์
รกลอกตัวก่อนกำหนด
หัวใจล้มเหลว จากการมี venous return เพิ่มอย่างรวดเร็ว
เลือดแข็งตัวผิดปกติ (DIC)
(retina detachment) ทำให้ตาบอดชั่วคราวได้
ผลกระทบต่อทารก
ทารกโตช้าในครรภ์
ขาดออกซิเจน เลือดเป็นกรด
ทารกคลอดก่อนกำหนด
แท้งหรือเสียชีวิตในครรภ์
การประเมินและวินิจฉัย
ซักประวัติ
ความดันโลหิตสูง โรคไต โรคเบาหวาน
การตรวจร่างกาย
การประเมินความดันโลหิต
ประเมิน(grading reflexes) มี 5 ระดับคะแนน
การประเมินอาการบวม ปกติการบวมมักสังเกตเห็นในระยะไตรมาสที่ 3
ประเมินอาการบวมกดบุ๋ม (pitting edema) มี 4 ระดับ
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ ได้แก่ CBC, platelet count, liver function test, renal functiontest และตรวจ cogulation profile
การรักษา eclampsia
โดยให้ MgSO4 loading dose
หากชักในขณะได้ MgSO4 อยู่
ให้เจาะเลือดเพื่อตรวจหา Mg level ทันที
ให้ยาลดความดันโลหิตBP160/110
ให้ magnesium sulfate ต่อไปจนครบ 24 ชั่วโมงหลังคลอด
การพยาบาลสตรีตั้งครรภ์
ใส่ oral airway หรือ mouth gag เพื่อป้องกันไม่ให้กัดลิ้
จัดให้นอนตะแคง ใส่ไม้กั้นเตียง โดยใช้หมอนรองรับรอบด้าน เพื่อป้องกันอันตรายจากการชัก
บันทึกปริมาณสารน้ำเข้าและออกจากร่างกาย
ให้ออกซิเจนขณะชัก และภายหลังชัก
รายงานแพทย์เมื่อมีอาการนำของการชักหรือขณะชัก
ให้งดอาหารและน้ำตามแผนการรักษา
ประเมินอัตราการเต้นของหัวใจทารกในครรภ์เป็นระยะ
พยาธิสรีรภาพของภาวะความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์
ระบบไต (renal system)
ระบบหัวใจและปอด (cardiopulmonary system)
ระบบเลือดและการแข็งตัวของเลือด (hematologic and coagulation system)
ระบบตับ (hepatic system)
ระบบประสาท (neurological system)
ระบบการมองเห็น (visual system)
รก และมดลูก (placenta and uterus)
ยาที่ใช้ในการรักษาภาวะความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์
ยาป้องกันการชัก (anticonvulsant)
Magnesium Sulfate (MgSO4)
ยามีฤทธิ์ทำให้เกิดการขยายตัวของ
หลอดเลือด เพิ่มการไหวเวียนเลือดไปเลี้ยงที่มดลูกและไต
ผลข้างเคียง ได้แก่ อาการร้อนวูบวาบทั้งตัว เซื่องซึมและง่วงนอน
ยาลดความดันโลหิต (antihypertensive dtrugs)
Hydralazine
ทำให้หลอดเลือดคลายตัวมีผลทำให้
ความดันโลหิตลดลง cardiac output มากขึ้น
ผลข้างเคียงที่อาจพบ ได้แก่ ปวดศีรษะ วิงเวียนศีรษะคล้ายจะเป็นลม
Labetalol
ออกฤทธิ์ยับยั้งระบบ
ประสาท syspathetic ส่วนปลาย มีผลลดความต้านทานของหลอดเลือดส่วนปลาย
ห้ามใช้ในรายหอบหืด หัวใจ
ล้มเหลว
ผลข้างเคียงที่อาจพบ ได้แก่ ความดันโลหิตต่ำ เวียนศีรษะ คลื่นไส้
Nifedipine
อกฤทธิ์ทำให้หลอดเลือดส่วนปลายคลายตัว
ผลข้างเคียงที่อาจพบ ได้แก่ ปวดศีรษะ เวียนศีรษะ ใจสั่น
ข้อควรระวังในการใช้ยานี้ในสตรีตั้งครรภ์ไตรมาสที่ 1 และ 2
เนื่องจากยามี teratogenic
effects