Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะอาเจียนรุนแรงในระยะตั้งครรภ์ (Hyperemesis gravidarum) - Coggle Diagram
ภาวะอาเจียนรุนแรงในระยะตั้งครรภ์ (Hyperemesis gravidarum)
เป็นภาวะที่สตรีตั้งครรภ์มีอาการคลื่นไส้อย่างรุนแรง ต่อเนื่องเป็นเวลานาน อาจพบได้ตั้งแต่ไตรมาสแรก ต่อเนื่องไปตลอดการตั้งครรภ์ > ไม่สามารถรับประทานอาหารได้ตามปกติ > ขาดสมดุลสารน้ำและอาหาร
อุบัติการณ์
พบร้อยละ 2 ของการตั้งครรภ์
สาเหตุ
ไม่ทราบแน่ชัด
ปัจจัยส่งเสริม
ปัจจัยด้านมารดา
การตั้งครรภ์ที่มีระดับ estrogen
สูง
หรือมีระดับ hCG
เพิ่มมากกว่าปกติ
การตั้งครรภ์แฝด
มีภาวะ hyperthyroidism ขณะตั้งครรภ์
การตั้งครรภ์ไข่ปลาอุก
มีประวัติการแพ้ท้องรุนแรงในการตั้งครรภ์ครั้งก่อน/เป็นการตั้งครรภ์แรก
มีพฤติกรรมการรับประทาอาหารที่ไม่ถูกต้อง
รับประทานอาหารที่มีไขมันสูง เนื่องจากอาหารที่มีไขมันสูงย่อยยาก กระตุ้นให้เกิดอาการคลื่นไส้อาเจียนได้
ขาดวิตามิน B6
มีความผิดปกติของระบบทางเดินอาหาร
กระเพาะอาหาร / ลำไส้อักเสบ
ถุงน้ำดีอักเสบ
ตับอ่อนอักเสบ
ไส้ติ่งอักเสบ
ลำไส้อุดตัน
กระเพาะอาหารมีการเคลื่อนไหวลดลง < การเพิ่มขึ้นของ progesterone
สภาพจิตใจ
> กระตุ้น cerebral cortex และ limbic system ส่งกระแสประสาทความรู้สึกไปยังศูนย์ควบคุมการอาเจียน
ปัจจัยด้านทารก
ทารกมีความผิดปกติเกี่ยวกับโครโมโซม
triploidy: ทารกมีโครโมโซม > 2 ชุด
trisomy 21
ทารกบวมน้ำ (hydrops fetalis)
อาการและอาการแสดง
คลื่นไส้อาเจียนอย่างรุนแรง อาจนานตลอดวัน รุนแรงจนไม่สามารถยับยั้งได้
หากอาการไม่รุนแรง
สามารถทำกิจวัตรประจำวันได้ น้ำหนักจะลดลงเล็กน้อย ไม่มีอาการขาดสารน้ำและสารอาหาร
หากมีอาการอาเจียน 5-10 ครั้ง/วัน หรือมากกว่านั้นเป็นเวลาหลายวัน
จะมีอาการดังนี้
ขาดสารอาหาร น้ำหนักลดลงมาก
Dyhydration
เกิดความไม่สมดุลของร่างกาย เกิดภาวะ acidosis และ alkalosis และ electrolyte imbalance
ลมหายใจมีกลิ่น acetone (กลิ่นคล้ายผลไม้) และตรวจพบ ketonuria
มีอาการและอาการแสดงของกลุ่มอาการ Wenick's encephalophathy จากการขาดวิตามิน B1
มองเห็นภาพซ้อน
เซ
สับสน
มีอาการแสดงทางด้านจิตใจ
เครียด
วิตกกังวล
ภาวะซึมเศร้า
ผลกระทบต่อการตั้งครรภ์
ผลกระทบต่อมารดา
ร่างกายขาดน้ำ
อุณกภูมิสูง
ชีพจรเบาเร็ว
BP ต่ำ
มีผลกระทบต่อการทำงานของไต > ปัสสาวะออกน้อย
มีไข้
ผิวแห้ง
อ่อนเพลีย
เกิดภาวะความเป็นกรดในร่างกาย เกิดภาวะกรดในกระแสเลือด
รุนแรง
> ร่างกายเสียสมดุงอิเล็กโตรลัยท์ > Hypokalemia, alkalosis > กล้ามเนื้ออ่อนแรง
เกิดภาวะขาดสารอาหาร > ผลต่อตับ > ค่า SGOT เพิ่ม > มีอาการของการขาดวิตามิน
อาจเสียชีวิตจากภาวะ hepatic coma
ผลกระทบต่อทารก
สตรีตั้งครรภ์น้ำหนักลด > ทารกเติบโตช้า > น้ำหนักแรกคลอดน้อยกว่าปกติ
สตรีตั้งครรภ์อาการรุนแรง > ภาวะกรดในร่างกาย > ทารกมีอาการทางสมอง > ภาวะWenick's encephalophathy
แท้ง, คลอดก่อนกำหนด, ทารกตายคลอด, ทารกพิการจากการขาดสารอาหาร
การวินิจฉัย
ซักประวัติ ตรวจร่างกาย ประเมินอาการและอาการแสดงของอาการอาเจียนรุนแรง การขาดขาดสารน้ำหรือสารอาหาร น้ำหนัก สภาพจิตใจ
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจเลือด
Hct, BUN, SGOT, LFT
สูง
โซเดียม, โปแตสเซียม, คลอไรด์, โปรตีนในเลือด
ต่ำ
การตรวจปัสสาวะ
ความถ่วงจำเพาะ
สูง
ไข่ขาวในปัสสาวะ
เพิ่มขึ้น
พบคีโตนในปัสสาวะ
อาการรุนแรง
> พบน้ำดีในปัสสาวะ
การตรวจพิเศษ
U/S และการเจาะตรวจน้ำคร่ำ เพื่อหาความสาเหตุความผิดปกติ
แนวทางการรักษา
ควรวินิจฉัยแยกโรค
> ภาวะอาเจียนรุนแรงอาจเกิดจากอาการของโรคอื่นๆ
โรคตับอักเสบ
โรคกระเพาะอาหาร
ลำไส้อักเสบ
ไส้ติ่งอักเสบ
ครรภ์ไข่ปลาอุก
หากอาการไม่รุนแรงสามารถรับประทานอาหารได้
แนะนำให้รับประทานอาหารที่ช่วยทดแทนเกลือแร่และอาหารที่มีแมกนีเซียม
หากอาการรุนแรง
ควรงดอาการและน้ำทางปาก รีบแก้ไขภาวะขาดน้ำ ความไม่สมดุลของเกลือแร่และความเป็นกรด-ด่างของเลือก >>ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ต้องได้มากกว่า 2000 แคลอรี่/วัน
รักษาด้วยยา
ยาแก้คลื่นไส้
Metoclopramind
Promethazine
วิตามิน
วิตามินB6
ยาคลายกังวล และยานอนหลับ
Diazepam
เมื่ออาการดีขึ้น
ให้รับประทานอาหารอ่อน ครั้งละน้อยแต่บ่อยครั้ง ทุก2-3 ชั่วโมง
ควร
รับประทานอาหารที่มีโปรตีนสูง
หลีกเลี่ยง
อาหารรสเผ็ด อาหารมัน อาหารที่มีกลิ่น
รับประทานอาหารที่มีส่วนประกอบของ
ขิง
สามารถช่วยลดอาการคลื่นไส้ได้
หลีกเลี่ยงสิ่งแวดล้อม และสิ่งกระตุ้นที่ทำให้คลื่นไส้อาเจียน
กรณีรักษาด้วยวิธีต่างๆแล้วไม่ดีขึ้น
>>>ทำการวินิจฉัยเพื่อค้นหาสาเหตุของโรคที่แท้จริง เพื่อทำการรักษาที่เหมาะสม
การพยาบาล
การพยาบาลสตรีตั้งครรภ์ที่ได้รับการรักษาแบบผู้ป่วยนอก
อธิบายถึงสาเหตุของอาการ และภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้น
แนะนำวิธีป้องกัน
รับประทานอาหารครั้งละน้อยๆ แต่บ่อยครั้ง ไม่ควรปล่อยให้กระเพาะว่าง
งดอาหารไขมัน
เพราะย่อยยาก
รับประทานอาหารแข็ง
ย่อยง่าย
รับประทานอาหารเหลว อาหารน้ำ หรือดื่มน้ำ
ระหว่าง
มื้ออาหาร
จิบเครื่องดื่มอุ่นๆ เพื่อรับน้ำและเกลือแร่เพียงพอ
เครื่องดื่มอุ่นช่วยลดการบีบตัวของกระเพาะอาหาร
แนะนำให้รัับประทานอาหารคาร์โบไฮเดรตเชิงเดี่ยว เพราะร่างกายดูดซึมได้ง่าย สามารถนำไปเป็นพลัังงานของร่างกายได้
แนะนำรับประทานผลไม้ที่ทีโปแตสเซียม และเม็กนีเซียม
การพยาบาลสตรีตั้งครรภ์ที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล
NPO อย่างน้อย 24-48 ชั่วโมง
หลีกเลี่ยงสิ่งกระตุ้นการคลื่นไส้อาเจียน
ดูแลความสะอาดของช่องปาก ขณะNPO หรือหลังจากอาเจียน
ดูแลให้ได้รับสารน้ำทางหลอดเลือดดำ เพืื่อแก้ไขภาวะขาดน้ำ
ให้ยาลดอาการคลื่นไส้อาเจียน ตามแผนการรักษา
บันทึก I&O
จัดสิ่งแวดล้อมให้สะอาด เงียบสงบ เหมาะแก่การพักผ่อน
เมื่ออาการดีขึ้น
เริ่มรับประทานอาหารครั้งละน้อยๆ แต่บ่อยครั้ง เริ่มจากอาหารแข็งย่อยง่าย มีคาร์โบไฮเดรตและโปรตีนสูง งดอาหารมัน
รายที่อาการรุนแรง
จำเป็นต้องให้อาหารทางสายยาง ให้เป็นอาหารเหลวที่มีแคลอรี่และวิตามินสูง
ติดตามผลทางห้อองปฏิบัติการ
ดูแลด้านจิตใจ
การพยาบาลสตรีตั้งครรภ์เมื่อกลับไปอยู่บ้าน
แนะนำให้รับประทานอาหารครั้งละน้อยๆ แต่บ่อยครั้ง เป็นอาหารที่ย่อยง่าย โปรตีนสูง
หลังรับประทานอาหารเสร็จ ให้นั่งพักประมาณ 45 นาที ไม่นอนทันที
แนะนำให้ดื่มน้ำอุ่นประมาณครึ่งแก้วหลังจากตื่นนอน แล้วนอนต่ออีก 15 นาที ก่อนที่จะลุกขึ้นไปทำกิจวัตรประจำวัน
แนะนำให้พักผ่อนให้เพียงพอ อย่างน้อย 8 ชั่วโมงในเวลากลางคืน กลางวันอย่างน้อย 1 ชั่วโมง
แนะนำการออกกำลังกายหรือบริหารเบาๆ ดพื่อผ่อนคลายความเครียด
แนะนำให้หลีกเลี่ยงสิ่งกระตุ้นที่ทำให้เครียด
แนะนำให้เห็นความสำคีญของการมาตรวจครรภ์ตามนัดอย่างสม่ำเสมอ สังเกตอาการผิดปกติก่อนมาพบแพทย์