Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์ (Hypertensive disorders of pregnancy) - Coggle…
ภาวะโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์
(Hypertensive disorders of pregnancy)
ชนิดของภาวะความดัน
โลหิตสูงขณะตั้งครรภ์
ความดันโลหิตสูงเรื้อรัง (chronic/ preexisting hypertension)
ครรภ์เป็นพิษ หรือ ภาวะครรภ์เป็นพิษระยะก่อนชัก (preeclampsia)
ความดันโลหิตสูงจากการตั้งครรภ์(gestational hypertension)
ครรภ์เป็นพิษซ้อนทับกับความดันโลหิตสูงเรื้อรัง
(preeclampsia superimposed on chronic hypertension)
ภาวะ preeclampsia
สาเหตุและ
ปัจจัยเสี่ยง
สตรีที่ไม่เคยคลอดบุตรมาก่อน (nulliparity)
ผ่านการคลอดบุตรคนก่อนมาอย่างน้อย 10 ปี มีความเสี่ยงเพิ่มขึ้น
สาเหตุที่แท้จริงยังไม่ทราบแน่ชัด
ดัชนีมวลกายตั้งแต่ 30 kg/m2ขึ้นไป หรืออ้วน
อาการและ
อาการแสดง
ภาวะไตวาย serum creatinine ≥ 1.1 mg/dL. หรือ
ปริมาณปัสสาวะออกน้อยกว่า 500 มิลลิลิตร ใน 24 ชั่วโมง
ระบบการแข็งตัวของเลือดผิดปกติ
เกล็ดเลือดต่ำ มี platelet count < 100,000 ต่อไมโครลิต
ตาบอดจากพยาธิสภาพของครรภ์เป็นพิษในสมอง
BP ≥ 160/110 mmHg.
เกณฑ์การวินิจฉัย
ตรวจพบโปรตีนในปัสสาวะอย่างน้อย 300
มิลลิกรัม ในปัสสาวะ 24 ชั่วโมง
เกล็ดเลือดต่ำกว่า 100,000 ต่อไมโครลิตร
ความดันโลหิตสูง BP ≥ 140/90 mmHg.
ปวดศีรษะ ซึม หรือหมดสติ ตาพร่ามัว
การพยาบาล
ภาวะ preeclampsia with
severe features
ประเมินสัญญาณชีพ โดยเฉพาะความดันโลหิตทุก 1 ชั่วโมง
บันทึกปริมาณสารน้ำเข้าและออกในแต่ละวัน
และ ประเมินอาการนำก่อนการชัก
ดูแลให้นอนพักบนเตียงอย่างเต็มที่จัดสิ่งแวดล้อมให้เงียบสงบ
ดูแลให้ยาป้องกันชัก MgSO4 ตามแผนการรักษา
ภาวะ preeclampsia
without severe features
ประเมินสัญญาณชีพ โดยเฉพาะความดันโลหิตทุก 4 ชั่วโมง
ดูแลและติดตามประเมินผลการตรวจ
ทางห้องปฏิบัติการและการตรวจพิเศษ
เฝ้าระวัง ติดตาม อาการและอาการแสดงที่รุนแรงขึ้น
ดูแลให้รับประทานอาหารธรรมดา บันทึกสารน้ำ
เข้าและออกจากร่างกาย และชั่งน้ำหนัก
ดูแลให้นอนพักบนเตียง (bed rest) ในท่านอนตะแคงซ้าย
ผลกระทบ
ผลกระทบต่อ
สตรีตั้งครรภ์
น้ำท่วมปอด หรือปอดบวมน้ำ
เลือดออกในสมอง
หัวใจล้มเหลว จากการมี
venous return เพิ่มอย่างรวดเร็ว
เกล็ดเลือดต่ำ
รกลอกตัวก่อนกำหนด
ผลกระทบ
ต่อทารก
ทารกคลอดก่อนกำหนด
แท้งหรือเสียชีวิตในครรภ์
ขาดออกซิเจน เลือดเป็นกรด
ทารกตายในครรภ์เฉียบพลัน
หรือ ตายในระยะแรกเกิด
ทารกโตช้าในครรภ์
ยาที่ใช้ในการรักษาภาวะ
ความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์
ยาป้องกันการชัก
Magnesium Sulfate
(MgSO4)
การบริหารยา
จากนั้น maintenance dose ด้วย 50% MgSO4 ปริมาณ 10-20 gm. ในสารละลาย 5% D/W 1,000 ml. หยดทางหลอดเลือดดำในอัตรา 2 gm. /hr
ควรให้ยานี้ต่ออย่างน้อย 24-48 ชั่วโมงหลังคลอด
. เริ่มให้ loading dose ด้วย 10% MgSO4
ปริมาณ 4-6 gm. ทางหลอดเลือดดำช้า ๆ นาน 15-20 นาที
กรณีเกิดการชักซ้ำ ควรให้ MgSO4 ซ้ำทางหลอดเลือดดำ
ปริมาณ 2-4 gm. นาน 5 นาที
ผลข้างเคียง
หลอดเลือดทั่วร่างกายมีการ
หดรัดตัวจนปัสสาวะออกน้อยลง
อาการร้อนวูบวาบทั้งตัว เซื่องซึมและง่วงนอน
มีเหงื่อออกมาก กล้ามเนื้ออ่อนแรง
ทำให้กล้ามเนื้อมดลูกหดรัด
กลไกลการ
ออกฤทธิ์
ยาออกฤทธิ์ลดการกระตุ้นระบบประสาทส่วนกลาง
และออกฤทธิ์ที่ myoneural junction
ยามีฤทธิ์ทำให้เกิดการขยายตัวของ หลอดเลือด
เพิ่มการไหวเวียนเลือดไปเลี้ยงที่มดลูกและไต
MgSO4 ใช้รักษาภาวะ preeclampsia
ยาลดความดันโลหิต
ยา Hydralazine
การบริหารยา
เริ่มให้ยาครั้งแรกขนาด 5 mg.
ฉีดเข้าทางหลอดเลือดดำใน 2 นาที
หลังจากนั้น 20 นาที หาก diastolic BP > 110
mmHg ให้ยาซ้ำได้อีก 10 mg
ผลข้างเคียง
คลื่นไส้ อาเจียน ใจสั่น หัวใจเต้นผิดปกติ
ปวดศีรษะ วิงเวียนศีรษะคล้ายจะเป็นลม
กลไกการ
ออกฤทธิ์
ยาออกฤทธิ์โดยตรงที่กล้ามเนื้อเรียบของหลอดเลือด
เลือดไหลเวียนไปเลี้ยงรกดีขึ้น
ทำให้หลอดเลือดคลายตัวมีผลทำให้
ความดันโลหิตลดลง cardiac output มากขึ้น
พยาธิสรีรภาพของ
ภาวะความดันโลหิตสูง
ขณะตั้งครรภ์
ระบบหัวใจและปอด เสี่ยงต่อการเกิดน้ำท่วมปอด
ระบบเลือดและการแข็งตัวของเลือด
ระบบไต ปริมาณการไหลเวียนที่ไตลดลง
รก และมดลูก เกิดภาวะทารกโตช้าในครรภ
ภาวะ Eclampsia
อาาการและ
อาการแสดง
ระยะชักเกร็ง (Stage of contraction หรือ tonic stage) เกร็งกล้ามเนื้อทั่วร่างกาย ลำตัวเหยียด ศีรษะหงายไปด้านหลัง มือกำแน่น
ระยะชักกระตุก (Stage of convulsion หรือ clonic stage) การกระตุกของกล้ามเนื้อทั่วร่างกายอย่างแรง มีการกระตุกของขากรรไกร
ระยะเริ่มแรกของอาการชัก (Stage of invasion) มีอาการกล้ามเนื้อบริเวณใบหน้า และมุมปากกระตุก ริมฝีปากเบี้ยว
ระยะหมดสติ (coma หรือ unconscious) เกิดภายหลังการชักกระตุก นอนนิ่งไม่เคลื่อนไหวอยู่ในสภาพหมดแรง อาจมีอาการหยุดหายใจเป็นบางครั้ง
ระยะก่อนชัก (Premonitoring stage)อาการกระสับกระส่าย ตามองนิ่งอยู่กับที่ ศีรษะหมุนไปด้านหนึ่งจนตึง และรูม่านตาขยาย
การพยาบาล
ให้ออกซิเจนขณะชัก และภายหลังชัก และ
ประเมินความรุนแรงของการขาดออกซิเจน
ประเมินสัญญาณชีพเป็นระยะอย่างต่อเนื่อง อย่างน้อยทุก 1 ชั่วโมง
จัดให้นอนตะแคง ใส่ไม้กั้นเตียง
จัดสิ่งแวดล้อมให้สงบ และลดสิ่งกระตุ้นให้เกิดการชัก
ใส่ oral airway หรือ mouth gag เพื่อป้องกันไม่ให้
กัดลิ้นและความสะดวกในการดูดเสมหะและน้ำลาย