Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
มารดามีเลือดออกในการตั้งครรภ์ - Coggle Diagram
มารดามีเลือดออกในการตั้งครรภ์
การแท้งบุตร (abortion)
สิ้นสุดก่อนทารกคลอด
เกณฑ์ GA 20-28 wks.
สาเหตุ
มารดา : อาจเกิดจากความผิดปกติของมดลูก เช่น มีมดลูก 2 อัน Myoma uteri Incompetence cervixมีโรคร่วมขณะตั้งครรภ์
ทารก : มักเกิดจากความผิดปกติของโครโมโซม เช่น blighted
ชนิด
แท้งที่เกิดขึ้นเอง (spontaneous abortion หรือ miscarriage)
แท้งที่เกิดจากการชักนำ (induced abortion)
Septic abortion เป็นการแท้งที่มีอาการของ
การติดเชื้อร่วม
Criminal abortion เป็นการทำแท้งที่ไม่ถูกกฎหมาย ไม่มีข้อบ่งชี้ทางการแพทย์มีโอกาสเกิดการแท้ง
ติดเชื้อตามมา
Therapeutic abortion เป็นการทำแท้งเพื่อการรักษา เมื่อมีข้อบ่งชี้ทางการแพทย์ และกระทำ
โดยแพทย์
การยุติการตั้งครรภ์
Surgical techniques
Medical techniques
Oxytocin
การใช้ยา misoprostol 200 mg (cytotec) เหน็บที่ปากมดลูก
การพยาบาล
การแท้งอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ แท้งไม่ครบ
แท้งครบ แท้งค้าง
1) ประเมิน v/s เลือดออกทางช่องคลอด ให้ IV เฝ้าระวังเลือดออกทางช่องคลอด ระวังภาวะ Shock
2) อธิบายการรักษา / ส่ง Lab
3) เตรียม curettage/ MVA / medical curettage
4) ให้ยา ABO
การแท้งคุกคามและการแท้งเป็นอาจิณ
2) งด PV, PR
3) ประเมินการหดรัดตัวของมดลูก เลือดออกทาง
ช่องคลอด ถ้าออกมากรายงานแพทย์
1) Bed rest งดใช้แรงจนกว่าเลือดจะหยุด
4) ให้คำแนะน้าเมื่อกลับบ้าน
การแท้งติดเชื้อ
1) ให้ยา ABO
2) ดูแลให้ได้รับการขูดมดลูก ให้ได้รับสารอาหารเพียงพอ
4 ) ประเมิน V/S record I/O
5) เก็บชิ้นเนื้อส่งตรวจ
3) เน้นดูแลความสะอาดร่างกาย
ตั้งครรภ์ไข่ปลาอุก (Molar pregnancy หรือ hydatidiformmole)
เป็น ค.แปรปรวนของพันธุกรรมในเนื้อรกทำให้เนื้อรก (chorionic villi) เสื่อมสภาพ
ชนิด
ครรภ์ไข่ปลาอุกที่เป็นถุงน้ำทั้งหมด (complete hydatidiform mole)
ไม่มีตัวทารก ถุงน้้าคร่ำหรือ
หลอดเลือด และรกจะฝ่อไปกลายเป็นถุงน้้าเล็กๆ ใสๆ คล้ายพวงองุ่น จะผลิต hCG มากกว่าผิดปกติ
ครรภ์ไข่ปลาอุกที่เป็นถุงน้ำเพียงบางส่วน (partial hydatidiform mole)
ลักษณะเนื้อรกจะมีทั้งปกติและบวมน้้า เป็นเม็ดใส (vesicle) ปนกัน hCG ต่ำกว่า
complete mole
อาการและอาการแสดง
ระดับฮอร์โมน hCG สูงกว่าการตั้งครรภ์ปกติ
U/S: snow storm appearance is seen
มีเลือดออกทางช่องคลอด พร้อมกับมีเม็ดคล้ายไข่ปลาหลุดมาทางช่องคลอด
การรักษาและการพยากรณ์โรค
ติดตามระดับฮอร์โมน hCG ในเลือด
สิ้นสุดการตั้งครรภ์
คุมกำเนิดอย่างน้อย 1 ปี ให้รู้ระดับฮอร์โมน hCG กินยาคุมเม็ด
การพยาบาล
อธิบายโรค แผนการรักษา
ประเมิน V/S เกณฑ์ pre-post OP
3.เก็บเนื้อเยื่อส่งตรวจ
4.มาตรวจตามนัด เน้นคุมกำเนิด
ตั้งครรภ์นอกมดลูก (Ectopic pregnancy)
การตั้งครรภ์ทีตัวอ่อนหรือไข่ที่ถูกผสมแล้วฝังตัว บริเวณอื่น
สาเหตุ / ปัจจัยส่งเสริม
Ex.มีการอักเสบเรื้อรังในช่องท้องมีพังผืดรัดอยู่รอบๆ ท่อนำไข่
อาการและอาการแสดง
ปวดท้อง เริ่มแรกอาจปวดแบบตื้อๆ (dull pain)
จากนั้นเปลี่ยนแบบปวดบิด (colicky pain)
ปวดร้าวไปที่ไหล่
เจ็บปวด เกร็งหน้าท้อง
เมื่อตรวจภายในและโยก บริเวณปากมดลูก เนื่องจากกระทบกระเทือนถุงท่อน้ำไข่
การวินิจฉัย/การรักษา
ซักประวัติประจำเดือน ตรวจร่างกาย ตรวจทางช่องคลอดเมื่อโยกปากมดลูกปวดมาก บริเวณ posterior fornix
โป่งยื่น เนื่องจากมีเลือดขังอยู่ใน cul-de-sac ตรวจ Lab /ตรวจพิเศษ
การผ่าตัด /การให้ยา โดยให้ยา metrotraxate (MTX)
การพยาบาล
ประเมินอาการปวดท้อง
อธิบายโรค การรักษา เจาะLab วัด v/s
มีเลือดออกในครึ่งแรก
มีเลือดออกจากช่องคลอด GA <20 wks.มักเกิด GA 9-12 wks. or นน. 500-1,000 gms
มีเลือดออกในครึ่งหลัง
รกลอกตัวก่อนกำหนด (abruptio placenta)
ภาวะที่มีการลอกตัวของรกซึ่งเกาะใน
ตำแหน่งปกติ หลังอายุครรภ์ 20สัปดาห์ จนถึง
ก่อนทารกคลอด เมื่อมีการลอกตัวของรก จะทำให้มีเลือดออกอยู่หลังรก แทรกอยู่ระหว่างถุง
น้ำคร่ำกับมดลูก
ชนิด
External hemorrhage
รกลอกตัวและมีเลือดไหลออกมาทางปากมดลูกและช่องคลอด
Internal hemorrhage
รกลอกตัวและเลือดคั่งอยู่หลังรก
ปัจจัยเสี่ยง
การลดขนาดของมดลูกอย่างรวดเร็ว
ภาวะความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์
ถูกกระแทกที่หน้าท้อง
อาการ
tetanic contraction
. Vital sign พบ sign shock โดยไม่สัมพันธ์กับปริมาณเลือดที่ออกทางช่องคลอด
มีเลือดออกทางช่องคลอด
คลำส่วนทารกได้ไม่ชัดเจนจากหน้าท้องแข็งตึง FHR ผิดปกติ
พบน้ำคร่ำมีเลือดปน
การรักษา
ให้คลอดทันที
พิจารณาผ่าคลอดจะปลอดภัยกว่า
ภาวะแทกรซ้อน
ภาวะการแข็งตัวของเลือดผิดปกติ
ภาวะไตวายเฉียบพลัน
PPH
Sheehan’s syndrome
การพยาบาล
เตรียมช่วยคลอดทางช่องคลอด หรือผ่าตัด
เฝ้าระวังPPH หลังคลอด
เตรียมเลือดตามแผนการรักษา ดูแลให้ได้รับ IV
ในรายที่เลือดออกมาก ควรให้ absolute bed rest
รกเกาะต่ำ (placenta previa)
การมีบางส่วนของรกหรือรกทั้งอันเกาะอยู่ที่ส่วนล่างของมดลูก (lower uterine segment)
พบ GA 20 wks. ขึ้นไป
มี 4 ระดับ Grade 1-4
ปัจจัยเสี่ยง
อายุมากกว่า 35 ปี
จำนวนครั้งของการตั้งครรภ์
hydrops fetalis
alpha–fetoprotien ในเลือดมารดาสูงกว่าปกติ
อาการ
. เลือดออกโดยไม่มีการเจ็บครรภ์ ไม่มี UC
มีเลือดออกผิดปกติครั้งแรก GA 34-36 wks.
ทารกอยู่ในท่าผิดปกติ/ไม่engagement
การวินิจฉัย
U/S พบรกเกาะต่ำ GA 20 wks.ขึ้นไป confirm GA 32 wks.
การรักษา
ยุติการตั้งครรภ์
รักษาแบบประคับประคอง
พิจารณาการคลอด ผ่าคลอด/คลอดเอง
การพยาบาล
งดตรวงทางช่องคลอดและทางทวารหนัก
NPO ให้ iv แทน
นอนพักบนเตียง ท่า Semi -flower
v/s ประเมินความรุนแรงของการเสียเลือด
Obs.bleeding per vagina
ประเมินและบันทึกการหดรัดตัüของมดลูก
ติดตาม V/S