Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การกลั้นปัสสาวะไม่อยู่ (Urinary Incontinence) - Coggle Diagram
การกลั้นปัสสาวะไม่อยู่
(Urinary Incontinence)
การขับถ่ายปัสสาวะเป็นความสัมพันธ์
ของการทำงานที่ควบคุมได้กับรีเฟล็กซ์ที่ควบคุมกะเพาะปัสสาวะ ท่อปัสสาวะ
กล้ามเนื้อ Detruser และกล้ามเนื้อหูรูด รอบท่อปัสสาวะ
การสูญเสียการควบคุมการขับ
ถ่ายปัสสาวะทำให้มีปัสสาวะเล็ดราดออกมาทางท่อปัสสาวะ โดย
ไม่สามารถควบคุมได้และก่อให้เกิดผลกระทบต่อสุขภาพอนามัย
คุณภาพชีวิต และการเข้าร่วมกิจกรรมทางสังคมของบุคคล
ชนิดของการกลั้นปัสสาวะไม่อยู่
แบบเรื้อรัง เป็นมานานเป็นเดือนหรือเป็นปี แบ่ง
เป็น 4 ประเภท
1.Functional incontinence
2.Stress incontinence 3.Urge
incontinence
4.Overflow incontinence
แบบชั่วคราว หรือแบบเฉียบพลัน
ป้องกัน รักษาให้หายได้ พบบ่อย แต่มักไม่ค่อยได้รับการประเมิน
การรักษา
เชิงพฤติกรรม
ใช้ยา
ผ่าตัด
การประเมินภาวะกลั้นปัสสาวะไม่อยู่ในผู้สูงอายุ
โรคที่เกิดขึ้นมาก่อน (Co-morbidities)
เบาหวาน
ความดันโลหิตสูง
หัวใจล้มเหลวจากการมีของเหลวคั่ง
ข้ออักเสบ
ซึมเศร้า
ความบกพร่องทางสติปัญญา
ผู้รับบริการมีโรคประจำตัวคือ โรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง
การเปลี่ยนแปลงด้านสรีระวิทยา
เพิ่มขึ้น
เพิ่มขึ้น
Urinary Frequency
Prevalence of post void
Residual Volume
OutFlow tract obstruction
ลดลง
Bladder capacity
sensation.
speed of contraction of detrusor
Pelvic Floor bulk.
Sphincteric "resistance"
Urinary flow rate
การตรวจร่างกาย
ชั่งน้ำหนัก ส่วนสูง ตรวจหน้า
ท้อง ตรวจระบบประสาทประเมินความแข็งแรงของอุ้ง
เชิงกรานในเพศหญิง
การตรวจพิเศษ Uroflowmetry
เป็นการวัดการไหลของปัสสาวะโดยใช้เครื่องอิเลค โทรนิก
Cystometry เป็นการวัดการทำหน้าที่
ของกล้ามเนื้อกระเพาะปัสสาวะ
Cystourethroscopy การตรวจโดยการ
ส่องกล้องทางท่อปัสสาวะ
การพยาบาล
ค้นหาปัญหาการกลั้นปัสสาวะไม่อยู่ ชนิดที่เป็นและร่วมแก้ไขสาเหตุ
ค้นหาวิธีจัดการปัญหานี้แล้วสำเร็จ ส่งเสริมให้ใช้วิธีเดิมต่อไป
พัฒนาแผนการดูแลเฉพาะผู้ป่วยแต่ละคน
โดยใช้ข้อมูลจากการประเมิน
หลีกเลี่ยงการใช้ยาที่ทำให้เกิดภาวะกลั้นปัสสาวะไม่อยู่
ประเมินการได้รับน้ำและวางแผนการจัดการรับน้ำอย่างเพียงพอ
ปรับสิ่งแวดล้อมให้เหมาะสม
ป้องกันอันตรายเกิดกับผิวหนัง
โดยทำความสะอาดทันทีเมื่อมีการเปรอะเปื้อน
หลีกเลี่ยงการผูกยึดหรือยกไม้กั้นเตียงตลอดเวลา