Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 6 การจัดทำแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา 2 - Coggle Diagram
บทที่ 6
การจัดทำแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา 2
การจัดทำแผนปฎิบัติการประจำปี
ประโยชน์
ใช้เป็นเครื่องมือในการควบคุมกากับติดตามในการใช้งบประมาณให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผล
เครื่องมือสำคัญในการบริหารจัดการระบบคุณภาพตามแนวทางการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
สถานศึกษามีแนวทางการดำเนินงานคุณภาพการศึกษาในแต่ละปีงบประมาณที่สอดคล้องกับงบประมาณที่ได้รับจัดสรรในแต่ละปีงบประมาณ
ขั้นตอน
ขั้นตอนที่ 3 ประมาณการงบประมาณรายจ่ายของโรงเรียน
ขั้นตอนที่ 4 การวิเคราะห์กำหนดโครงการตามแผนกลยุทธิ์
ขั้นตอนที่ 2 ประมาณการงบประมาณรายรับของโรงเรียน
ขั้นตอนที่ 5 การจัดทำร่างแผนปฏิบัติการ
ขั้นตอนที่ 1 วิเคราะห์แผนพัฒนาคุณภาพศึกษาระยะ 3-5 ปี
วัตถุประสงค์
เพื่อระบุรายการใช้จ่ายงบประมาณสำหรับการพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา
เพื่อจัดลำดับความสำคัญของการดำเนินโครงการ / กิจกรรมการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษา
เพื่อกำหนดแนวทางในการปฏิบัติงานตามโครงการให้บรรลุ/ตามเป้าหมายของโครงการ
เพื่อกำกับติดตามและประเมินผลการดำเนินงานพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
ส่วนประกอบ
ส่วนที่ 2 กลยุทธ์การจัดการศึกษา
พันธกิจ
เป้าประสงค์
ประเด็นกลยุทธ์
วิสัยทัศน์/คำอธิบายวิสัยทัศน์
ส่วนที่ 4 จัดทำรายละเอียดโครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปี
เป็นการวิเคราะห์ แผนพัฒนาการจัดการศึกษาระยะ 5 ปีของแต่ละปีการศึกษา
ส่วนที่ 1 ข้อมูลพื้นฐาน
สรุปผลการดำเนินงานในรอบปีที่ผ่านมา
ผลงานที่ประสบผลสำเร็จ
สภาพปัจจุบันของสถานศึกษา
ผลการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอกและภายใน
ประวัติความเป็นมาและข้อมูลสถานศึกษา
ส่วนที่ 5 การกำกับ ติดตาม ประเมินผลและรายงาน
แบบรายงานผลการดำเนินโครงการ
ปฏิทินการติดตาประเมินผลโครงการและรายงานผลการดาเนินโครงการ
ส่วนที่ 3 ประมาณการงบ
ประมาณการรายจ่ายประจำปีการศึกษา
การประมาณการรายรับ ตามแผนปฏิบัติการประจำปี
หลัการของการเขียนโครงการ
องค์ประกอบ
การดำเนินงาน
= เป็นคัดเลือกและจัดสรรทรัพยากรที่มีอยู่กำหนดกรรมวิธีและกิจกรรมที่จะทำให้บรรลุเป้าหมายที่ต้องการ
การประเมิน
= การติดตามกำกับการดำเนินโครงการและผลที่เกิดขึ้นว่าควรพัฒนาโครงการแบบใด
การวางแผน
= โดยกำหนดจุดมุ่งหมาย(Goal) วัตถุประสงค์(Objectives) และเป้าหมาย(Targets)
ศัพท์น่ารู้
วัตถุประสงค์ (Objectives)
หมายถึง จุดหมายระยะที่สั้น มีขอบเขตที่เฉพาะและสามารถวัดได้ ต้องครอบคลุมและสอดคล้องกับจุดมุ่งหมาย
เป้าหมาย (Targets)
หมายถึง จุดหมายของการดำเนินงาน เป้าหมายครอบคลุมและสอดคล้องกับวัตถุประสงค์
จุดมุ่งหมาย (Goals)
หมายถึง จุดมุ่งหมายระยะยาวหรือจุดหมายปลายทางที่ต้องการไปให้ถึง
วิธีการ (Procedures)
หมายถึง กระบวนการหรือกรรมวิธีสำหรับการดำเนินกิจกรรม
โครงการ (Project)
หมายถึง ชุดของกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการใช้ทรัพยากร โดยมีระยะเวลาการดาเนินงานที่แน่ชัด
การประเมิน (Evaluation)
หมายถึง กระบวนการตัดสินคุณค่าของการพัฒนาโครงการการดาเนินโครงการและผลของโครงการ
เทคนิคการเขียน
ข้อควรระวังในการเขียนโครงการ
ควรเสนอข้อเท็จจริงที่ถูกต้องชัดเจนเท่านั้นโดยเฉพาะเรื่องที่เป็นการคาดการณ์อนาคตไม่ควรนำเสนอ
การนำเสนอความคิดเห็นส่วนตัวในการเขียนโครงการ
ระหว่างการเขียนโครงการ: ผู้เขียนควรตรวจสอบสานวนภาษา
6.ควรตรวจสอบความครบถ้วนสมบูรณ์ของหัวข้อต่างๆ ควรมีใจกว้างเปิดโอกาสให้ผู้อื่นวิพากษ์วิจารณ์ได้เพื่อนามาปรับปรุงแก้ไข
สิ่งที่นำเสนอออกมา: ผู้เขียนจะต้องมีความจริงใจต่อองค์กรไม่แสวงหาผลประโยชน์จากการเขียนโครงการ
การนำเสนอโครงการให้ผู้พิจารณาหรือคณะกรรมการได้เข้าใจควรนำเสนอด้วยอุปกรณ์ต่างๆ
1.ก่อนเริ่มเขียนโครงการ : ผู้เขียนจะต้องศึกษาเรื่องราวที่เกิดขึ้น ทราบปัญหาและความต้องการที่แท้จริงของหน่วยงานนั้นๆ
รูปแบบการเขียน
แบบดั้งเดิมหรือคลาสสิก (Classical Program Writing)
การเขียนตามลำดับหัวข้อต่างๆ
แบบเหตุผลสัมพันธ์(Logical Framework Program)
กำหนดตัวชี้วัดความสำเร็จเป็นรูปธรรม
โดยทุกคนเข้าใจโครงการทั้งหมดได้โดยง่าย
ผู้บริหารมั่นใจในการอนุมัติโครงการ
ผู้รับมอบโครงการ มีความมั่นใจในการนำไปปฏิบัติและประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการได้ทันที
ลักษณะสำคัญ
ต้องมีวัตถุประสงค์ (Objective) ชัดเจนและ
3.ต้องเป็นเรื่องของอนาคต
ควรมีลักษณะเร่งด่วนหรือมีต้นทุนต่าระยะสั้นที่สุดค่าใช้จ่ายน้อยที่สุดผลผลิตตรงตามวัตถุประสงค์มากที่สุด
4.ต้องมีระยะเวลาที่แน่นอนมีจุดเริ่มต้นและจุดสิ้นสุดโครงการ
ควรมีสถานที่ดำเนินงานโครงการต้องระบุให้ชัดเจน
ต้องมีความเป็นเอกเทศ โดยไม่ขึ้นอยู่กับโครงการใดโครงการหนึ่ง
1.โครงการต้องเป็นระบบ
ปัจจัย (Input)
กระบวนการ (Process)
ผลผลิต (Output)
ตัวตรวจสอบกลับ (Feed Back)
ควรมีลักษณะเป็นงานเริ่มต้นหรืองานพัฒนา
สอดคล้องกับนโยบายของหน่วยงาน
การประเมินโครงการ
การออกแบบ
องค์ประกอบที่ใช้
3.การเก็บรวบรวมข้อมูล(Collecting)
4.การวิเคราะห์และแปลผลข้อมูล(Analyzing and Interpreting)
2.การออกแบบการประเมิน(Designing)
5.การรายงานผลการประเมิน(Reporting)
1.การเลือกจุดเน้นการประเมิน(Focusing)
6.การจัดการประเมิน(Managing)
7.การประเมินผลการประเมิน(Meta Evaluation)
เกณฑ์ที่ใช้
ความตรงภายนอก(External Validity)
ความเป็นไปได้ในการประเมิน(Feasibility of Assessment)
ความตรงภายใน(Internal Validity)
ประเภท
การออกแบบการประเมินเชิงบรรยาย (Descriptive Evaluation Designs )
การออกแบบการประเมินเชิงทดลองและกึ่งทดลอง (Experimental and Quasi Experimental Evaluation Designs)
การออกแบบการประเมินเชิงสารวจ (Exploratory Evaluation Designs)
การประเมินโครงการรอบด้าน
การประเมินแบบ90 องศา(90 Degree Feedback :Colleague Assessment)
การประเมินแบบ180 องศา(180 Degree Feedback : Upward Review)
การประเมินแบบ 1 องศา(1 DegreeFeedback : Self of Supervisor Assessment)