Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การประเมินภาวะสุขภาพการดูแลช่วยเหลือมารดาและทารกในระยะที่ 2 3 และ 4…
การประเมินภาวะสุขภาพการดูแลช่วยเหลือมารดาและทารกในระยะที่ 2 3 และ 4 ของการคลอด
Second stage of labor
Positive sign
ปากมดลูกเปิด 10 cm จากการตรวจภายใน
เห็นส่วนนำของทารกชัดเจน
Probable sign
เจ็บครรภ์ถี่
อยากเบ่ง
มี Show คือ มีมูกปนเลือดออกทางช่องคลอด
ปากมดลูกอ้า
ฝีเย็บโป่ง ตึง บางใส
เห็นส่วนนำบางส่วน
พยาบาลทำคลอดตามมาตรฐาน
การทำคลอดไหล่
ไหล่หน้า
โน้มตัวลง 45 องศา จนเห็นซอกรักแร้
ระวัง
ห้ามใช้มือดึงรั้งใต้คาง เพราะจะเกิดอันตรายต่อเส้นประสาทใบหน้า เกิดภาวะ Facia nerve palsy
ห้ามโน้มศีรษะทารกลงแรงเกินไป เพราะจะทำให้กล้ามเนื้อ Sternodeidomastoid ฉีกขาดทำให้เกิดภาวะ คอเอียง (Congenitaltorticollis)
ประคองที่หมับน้ำ 2 ข้างของทารก ใน้อยู่ในอุ้งมือ
ไหล่หลัง
ระวัง
ห้ามสอดนิ้วดึงรั้งใต้รักแร้/ ใต้คางทารกเพราะ จะทำให้เกิดอันตรายต่อเส้นประสาท Brachial plexus
เกิดภาวะ กล้ามเนื้อแบนส่วนบนอ่อนแรง (Erb - Duchenne paralysis)
เมื่อไหล่หน้าคลอดแล้ว โน้มศีรษะทารกขึ้นไป 45 องศาจนเห็นซอกรักแร้
ตรวจสอบสายสะดือพันคอ
พัน 1 รอบหลวม ให้รูดผ่านท้ายทอยออกมาด้านหน้า
พัน 1 รอบแน่น / 2 รอบ ใช้ cord clamp 2 ตัวหนีบและใช้กรรไกรตัด Cord ตัดตรงกลาง
การทำคลอดศีรษะ
Modified Retgen's Maneuver
2.เมื่อเห็นศีรษะทารกโผล่ออกมา เส้นผ่าศนย์กลาง 3-4 cm ศีรษะไม่ผลุบเข้า(Crowning)ให้ใช้นิ้วหัวแม่มือ นิ้วชี้ นิ้วกลาง ของมือข้างที่ไม่ถนัดแตะบนศีรษะทารก ประคองไม่ให้ศีรษะ เงยเร็วเกินไป
มือข้างที่ถนัด จับผ้า safe perineum วางต่ำกว่าขอบแผลฝีเย็บ 1- 2 cms.เพื่อสังเกตการฉีกขาดของแผลฝีเย็บให้ชัดเชน
4.เมื่อแม่เบ่งศีษะทารกจะเคลื่อนต่ำลง Subocciput จะยันใต้ขอบล่าง pubil Sympasisต่อมา siparietal diame จะผ่านพันช่องคลอดออกมาให้คุณแม่หยุดเบ่ง และให้หายใจทางปาก
5.มือข้างที่ถนัดรูดผ้า safe perineum ผ่านหน้าให้พ้นคางทารก แล้วทิ้งผ้า safe perineum การช่วยคลอดศีรษะ เพื่อป้องกันการฉีกขาดของฝีเย็บ :Modified Retgen's Maneuver
1.ติดฝีเย็บก่อน Crowning เล็กน้อย เมื่อมีเย็บบางตุง ใส แล้วตัดฝีเย็บ
เมื่อศีรษะออกมาแล้ว
ให้ผู้คลอดหยุดเบ่ง
suction ที่ปากและจมูก ตามลำดับ
เช็ดตาทารกตัวยสำลี + NSS จากหัวตาไปหางตา
การทำคลอดลำตัวทารก
2.เมื่อเห็นสายสะดือออกมาให้ใช้มือข้างที่ถนัดประคองลำคอ และศีรษะทารก
3.มือซับที่ไม่ถนัดค่อยๆรูดตามตัวทารกไปประคองที่ก้นทารกออกมาทารกคลอดครบ
1.ใช้อุ้งมือทั้ง 2 ข้างจับบริเวณขมับทารกแล้วค่อยๆประคองตัวทารกออกมา
การพบาบาลเมื่อทารกคลอดมาทั้งตัว
เช็ดตัว
ตัดสายสะดือ
ใช้ Atery clamp ตัวที่ 2 หนีบห่างจากตัวแลก 4-5 cm
ใช้สำลีชุบ Providine เช็ดตรงกลางระหว่าง Artery clamp ทั้ง2
รีดเลือดไปทารมารตาก่อนที่จะ Clamp ตัวที่ 2
ล็อคสายสะดือ ตัตค่อนไปทาง Artery clamp ตัวแรก 1 cmร ให้หันปลายกรรไกรเข้าหาอุ้งมือของผู้ทำคลอดแล้วตัด
ใช้ Aptery clamp หนีบตัวแรกห่างจากหน้าท้องทารก 2-3 cm
suction ปาก และ จมูก
สัมพันธภาพมารดากับทารก
การสัมผัส (Touch)
Eye to Eye contact) - ประสานสายตาระหว่างมารดา และ ทารก 8-12 นิ้ว
kangaroo care30 - 45 นาทีหลังคลอด
การใช้เสียงแหลมสูง ( voice)
การลับกลิ่น (odor)
ทารกจะแยกกลิ่นทารกได้ภายใน 6-10 วันหลังคลอด
มารดาจะแยกกลิ่นทารกได้ภายใน 3-4 วันหลังคลอด
การให้ภูมิคุ้มกันทางน้ำนม t -lymphocyte , b- lymphocyfe , IgA
การให้ภูมิคุ้มกันทางเดินหายใจ (Bacteria nasal flora)
การเคลื่อนไหวตามเสียงพูด ( Entrainment)
จังหวะชีวภาพ ( Biorthythmcity) : ทรกรับรู้เสียงเต้นของหัวใจมารดา
การให้ความอบอุ่น ทารกจะผ่อนคลาย เมื่อได้รับความอบอุ่น จากมารดา
การพิจารณาก่อนเข้าห้องคลอด
G2 ปากมดลูกเปิด 8-9 cm
G1 ปากมดลูกเปิด 10 cm
มีประวัติคลอดก่อนกำหนด ปากมดลูกเปิด 5-6 cm
การเตรียมคลอด
เตรียมอุปกรณ์
Set คลอด
Set ผ้า
Set ผ้าผู้คลอด
ผ้ารองกัน 1 ผืน
ปลอกขา 1 คู่
ผ้าคลุมท้อง 1 ผืน
ผ้าสี่เหลี่ยมเจาะกลาง 1 ผืน
Set ผ้าทารก
ผ้าเช็ดตัวทารก 3 ผืน
ผ้าอ้อม 2 ผืน
Set ผาผู้ทำคลอด
ผ้าเช็ดมือ 1 ผืน
ชุดกาวน์ 1 ชุด
Set ทำคลอด
1.กรรไกรตัดฝีเย็บ 1 ตัว
2.ผ้า safe perineum 1 ผืน
3.ลูกสูบยางแดง
4.artery clamp 2 ตัว
5.ยางรัด cord 1 ตัว
6.กรรไกรตัดcord 1 ตัว
7.tooth forceps
Set เย็บแผล
3.กรรไกตัดไหม
4.Tooth Forceps
5.สำลี
2.Chromic catgut เบอร์ 2/0
6.ผ้าก๊อซ
1.Needle holder
7.Tampon
Set Scrub vulva
อุปกรณ์เพิ่มเติม
1.syringe 10 ml
2.เข็มเบอร์ 18 , 24
3.ยา Xylocaine 2%
ใส่รก
ใส่สำลี+NSS ทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์
4.ชาม กลมเล็ก 2 ใบ
ใส่สำลี 2 ก้อน+ Providine (เช็ดสายสะดือ)
ใส่สำลี 4 ก้อน + NSS (เช็ดตาทารก)
5.ถุงตวงเลือด
6.น้ำยา Hibiscrub
7.ถุงมือ sterile 2 คู่
เตรียมทำคลอด
จัดท่า
ท่านอนหงายขึ้นขาหยั่ง (lithotomy)
ท่าศีรษะสูง (upright position)
ท่านอนหงายชันเข่า (dorsal recumbent)
ท่านอนตะแคง (Lateral position)
Scrub vulva
ก้อนที่ 1 เช็ดบริเวณหัวหน่าวและหน้าท้องส่วนล่าง
ก้อนที่ 2 เช็ดขาหนีบด้านไกลตัวถึง 2 ใน 3 ส่วนของขาท่อนบน
ก้อนที่ 3 เช็ดขาหนีบด้านใกล้ตัวถึง 2 ใน 3 ส่วนของขาท่อนบน
ก้อนที่ 3 เช็ดขาหนีบด้านใกล้ตัวถึง 2 ใน 3 ส่วนของขาท่อนบน
ก้อนที่ 3 เช็ดขาหนีบด้านใกล้ตัวถึง 2 ใน 3 ส่วนของขาท่อนบน
ก้อนที่ 6 เช็ด clitoris ไปถึง Anus
ด้านจิตใจ
ให้กำลังใจ
ให้ข้อมูลเกี่ยวกับความก้าวหน้าของการคลอด
ดูแลอย่างใกล้ชิด
ปูผ้า
สวมปลอกขาด้านใกล้ตัวก่อนแล้วสวมปลอกขาด้านไกลตัว
ปูผ้าคลุมท้อง
ปูผ้ารองก้น
เตรียมสถานที่
สะอาด ปราศจากเชื้อ
แสงสว่าง เพียงพอ
นาฬิกา
เต็ยงเช็ดตัวบนำบกฆ่าเชื้อ และปูผ้าบาง
Radiant Warmer
ถั่งขยะทั่วไป ถังขยะติดเชื้อ ถังขยะผ้าเปื้อน
อุณหภูมิห้อง25-26'C
เตรียมผู้ทำคลอด
เปลี่ยนเสื้อผ้า รองเท้า สวมหมวกคลุมผม ผูก mask ให้มิดชิด
ทำความสะอาดมือก่อนทำคลอด
G1 เส้นผ่าศูนย์กลางของศีรษะประมาณ 2-3 cm
G2 ผู้คลอดเริ่มเบ่ง
สวมเสื้อกาวน์แล้วถุงมือทันที
การเบ่งคลอด
เบ่งอย่างไร
จัดท่า upright position
ขณะมดลูกเริ่มหดรัดตัวผู้คลอดรู้สึกอยากเบ่ง ให้ทำ cleansing breath
สูด กลั้น ก้มรูปตัว C เบ่งลงก้นเหมือนเบ่งถ่ายอุจาระ เบ่งนาน 6-8 วินาที
มดลูกหดรัดตัวแต่ละครั้งให้เบ่งได้อย่างน้อย 4 ครั้ง
มดลูกหดรัดตัวแต่ละครั้งให้เบ่งได้อย่างน้อย 4 ครั้ง
เบ่งเสร็จ ให้ทำ cleansing breath อีก 1-2 ครั้งแล้วนอนพักคลายกล้ามเนื้อทุกส่วนเมื่อมดลูกหดรัดตัวก็เริ่มหายใจเบ่งคลอดใหม่จนกระทั่งศีรษะทารกเกิดออกมา
ข้อควรระวังในการเบ่ง
ไม่ควรเบ่งในท่านอนหงายราบเพราะ ศีรษะทารกเคลื่อนต่ำช้ามากและผู้คลอดจะต้องออกแรงเบ่งมากและเบ่งนาน
การเบ่งแต่ละครั้งไม่ควรเบ่งนานเกิน 8 วินาทีเพราะอาจเกิดภาวะ Valsalva maneuver
เบ่งเมื่อไหร่
เมื่อ PV พบว่าปากมดลูกเปิดหมด
ศีรษะทารกเคลื่อนต่ำลงมากดทับที่ stretch receptors
เกิด Ferguson's reflex
เกิดความรู้สึกอยากเบ่งขึ้น
เบ่งก่อน = บวม = ขัดขวางการเคลื่อนต่ำของศีรษะทารก = คลอดล่าช้า
ความผิดปกติบริเวณหน้าท้อ
ง
Full Bladder
แก้โดยการ ใส่สายสวนปัสสาวะ
สอนการเบ่งคลอที่ถูกต้อง
Bandl's ring
Powers
แรงหดรัดตัวของมดลูก
การหดรัดตัวของมดลูกจะเริ่มจากบริเวณส่วนบนของมดลูกและแผ่มายังส่วนล่าง
มีการหดรัดตัวเป็นจังหวะสม่ำเสมอและจะหดรัดตัวนานและถี่ขึ้นตามระยะเวลาของการคลอด
เป็นแรงที่อยู่ภายนอกอำนาจจิตใจ ไม่สามารถควบคุมได้
แรงเบ่งของผู้คลอด
แรงเบ่งนี้จะไม่มีประโยชน์ในระยะที่ 1 ของการคลอด เพราะจะทำให้ผู้คลอดอ่อนเพลียโดยไม่จำเป็น
หากแรงเบ่งของผู้คลอดดี จะช่วยให้การคลอดในระยะที่สองดำเนินไปตามปกติ
แรงเบ่งเกิดจากแรงหดรัดตัวของกล้ามเนื้อหน้าท้องและกระบังลม ซึ่งสามารถควบคุมได้ และอยู่ในอำนาจจิตใจ
แต่หากแรงเบ่งไม่ดี อาจทำให้เกิดการคลอดยาก
การพยาบาล
ดูแลให้ผู้คลอดอยู่ในท่าที่เหมาะสม
การได้รับอาหารและน้ำ
การดูแลความสุขสบายและการจัดสิ่งแวดล้อม
การบรรเทาความเจ็บปวด
กระเพาะปัสสาวะ
การบรรเทาความเจ็บปวด
การดูแลด้านจิตใจ
การดูแลผู้สนับสนุนในการคลอด
การดูแลทารกในครรภ์
การป้องกันการติดเชื้อ
รกลอกตัว
อาการแสดงของรกลอกตัว
Cord sign
เกลียวคลาย
คลำ Pulse ไม่ได้
สายสะดือเหี่ยว
สายสะดือเคลื่อนต่ำจากเต็ม 8-10 cms
Vulva sign
จะออกเมื่อมีการลอกตัวของรกชนิด Matthews Duncan's Method
มีเลือดออกจากช่องคลอด 30 -60 mL
Uterine sign
มดดูกเปลี่ยนรูปร่างจากแบน ( Discoid shape)
กลมแข็ง (Globuler shape)
ลอยตัวเหนือสะดือ และ ค่อยไปทวารหนัก
Modified crede’ maneuver
1.ตรวจสอบว่ารกลอกตัวสมบูรณ์ โดยการโกยมดลูกขึ้นด้านบนแล้วสายสะดือไม่เคลื่อนตาม
2.ผู้ทำคลอด เปลี่ยนมายืนอยู่ด้านตรงข้าม ใช้มือข้างที่ถนัดคลึงมดลูกให้หดรัดตัว
3.คลึงมดลูกให้แข็ง
3.จับมดลูกมาอยู่ตรงกลางหน้าท้อง ใช้อุ้งมือดันมดลูกส่วนบนลงมาหา promontary ofsacrum กดลงทำมุม 30 องศากับแนวดิ่ง มดลูกส่วนบนที่แข็งจะดันให้รกที่อยู่ในมดลูกส่วนล่างเคลื่อนออกมา
5.เมื่อเห็นรกผ่านช่องคลอด2/3 ของรก ใช้มือซ้ายหมุนรกไปทางเดียวกัน เพื่อให้เยื่อหุ้มทารกคลอดออกมาครบ
6.มือขวาที่ดันยอดมดลูกให้เปลี่ยนเป็นโกยมดลูกขึ้นไป
วัตถุประสงค์
2.ความผิดปกติ ความสมบูรณ์ของรก
3.เป็นวิธีที่ปลอดภัย ผู้คลอดไม่ต้องออกแรงเบ่ง
ป้องกันภาวะแทรกซ้อนหลังคลอด ได้แก่ มดลูกหดรัดตัวไม่ดี การตกเลือดหลังคดอด ป้องกันมดลูกปลิ้น
Metthews Duncan's Method
เกิดจากรกลอกตัวบริเวณริมรกก่อน
แบ่งออกเป็น 2 แบบ
Schultze’s method
เห็นรกทางด้านเด็กโผล่ออกมาก่อน
เกิดขึ้นบริเวณตรงกลางรก
ไม่มีเลือดออกทางช่องคลอดก่อนที่รกจะคลอด แต่มักจะเห็นเลือดเมื่อรกคลอดออกมาแล้ว
Duncan’s method
ขณะรกลอกตัวจะมีเลือดออกมาภายนอกเวลาคลอดรกจะเห็นริมรกด้านมารดาก่อน
method เกิดขึ้นบริเวณริมรก
เวลาในการทำคลอดรก
เริ่มต้นภายหลังทารกคลอดออกมาหมดทั้งตัว สิ้นสุดเมื่อรกและเยื่อหุ้มรกทารกคลอดออกมา ระยะเวลาเฉลี่ย 5 ถึง 10 นาที ภายหลังการคลอดไม่ควรเกิน 30 นาที
การตรวจรกสมบูรณ์
การตรวจสายสะดือ
ความยาวสายสะดือ 30-100 cms. โดยเฉลี่ย 50 cms
ปม (Knot) ที่สายสะดือ พบได้ 2 แบบ
False knot ไม่มีอันตรายใดๆ
True knot
สายสะดือผูกกันเป็นปมเหมือนผูกเชือก
ถ้าผูกกันแน่นจะทำให้ ทารกขาดออกซิเจนและตายในครรภ์ได้
จำนวนหลอดเลือดในสายสะดือ
เส้นเลือดดำ (Umbilical vein) 1 เส้น
เส้นเลือดแดง (Umnilical arteries) 2 เส้น
เนื้อตายของรก (Infarction) และหินปูน (Calcification)
รอยบุ๋มบนผิวรก
วัตถุประสงค์ 2 ประการ คือ
ตรวจเพื่อศึกษาลักษณะทั่วไป
การเกาะของสายสะดือบนรก (Chorionic plate)
การตรวจรกด้านทารก (Chorionic plate)
การตรวจเยื่อหุ้มทารก ควรตรวจอย่างระมัดระวัง เพราะมีการฉีกขาดง่าย
ตรวจว่ารกและเยื่อหุ้มทารกคลอดครบหรือไม่
หลัก 5 B
Bladder & uterus
ประเมินการหดรัดตัวของมดลูก
มดลูกนิ่ม = หดรัดตัวไม่ดี --> คลึงมดลูกให้แข็ง
มดถูกเป็นก้อนกลมแข็ง = หดรัดตัวดี--> ไม่ต้องคลึงเพราะจะทำให้กล้ามเนื้อมดลูกล้า อาจตกเลือกได้
ตรวจเหนือหัวเหน่าว่ามี Bladder full หรือไม่
Breat feeding
กระตุ้นให้ทารกดูดนมโดย
ดูดบ่อย - ทุก 1- 2 hr ดูดนานครั้งละ 10 -15 mins
ดุดถูกวิธี ให้ลูกดูดอมต้นนม
ดูดเร็ว - เริ่มดูดภายใน 30- 45 minsหลังคลอด
Bottom
ดูแลการได้รับสารน้ำ และ อาหาร
ดูแลให้ได้รับความสุขสบาย
การพักผ่อน
เปลี่ยนเสื้อผ้า ผ้าปู
ความสะอาดของร่างกาย
ประเมินริดสีดวงทวาร
ขนาดของก้อน
ระยะเวลาที่เริ่มเป็น
มีริดสีดวงทวารหรือไม่
อาการบวม / มีเลือดคั่ง
ประเมินภาระแทรกซ้อน ภาวะตกเลือดหลังคลอด
แนะนำชั้นต้น
รักษาความสะอาดของแผลฝีเย็บ
ได้รับสารน้ำที่เพียงพอต่อการสร้างน้ำนม
ให้นมบุตร
สังเกตการหดรัดตัวของมดลูก + ปริมาณเลือดที่ออก
Body condition
ลักษณะทั่วไป
อ่อนเพลีย
ภาวะซีด
ท่าทาง
ภาวะหลอดเลือดดำอักเสบ
สีหน้า
ประเมิน V/S
Pulse Rate
สูงไม่เกิน 100 / min
ไม่ต่ำกว่า 50 / min
Respiration ปกติ 16 -20 / min
Body temperature ไม่ควรเกิน 38 องศา
ถ้า > 37.2 องศา = Reactionary fever
Blood Pressure
สูงไม่เกิน 140 /90 mmHg
ไม่ต่ำกว่า 90 160 mmHg
Bleeding per vagina and episiotomy
Episiotomy
ประเมินแผลฝีเย็บ
E (Ecchymosis) ช้ำเลือด
D (Discharge) มีเลือด / น้ำหนอง
E ( Edeme) บวม
ยาชา : ตุง มัน ใส
เลือด : ม่วงคล่ำปวดหน่วง กดเจ็บ
A (Approximation) ลักษณะขอบแผล
A (Redness) แดง
P (Pain) ปวดแผล
แบ่งได้เป็น 4 ระดับ
Second degree tear หมายถึง การฉีกขาดในระดับที่หนึ่ง ร่วมกับการฉีกขาดของ กล้ามเนื้อฝีเย็บ และกล้ามเนื้อช่องคลอด โดยไม่มีความเสียหายต่อกล้ามเนื้อ หูรูดทวาร
Third degree tear หมายถึง การฉีกขาดในระดับที่สอง ร่วมกับการฉีกขาดบางส่วนหรือทั้งหมดของกล้ามเนื้อหูรูดและผนังกั้นทวาร
First degree tear = การฉีกขาดชั้นผิวหนังของฝีเย็บ และเยื่อบุช่องคลอด โดยไม่มีความเสียหายต่อกล้ามเนื้อฝีเย็บ
Fourth degree tear หมายถึง การฉีกขาดในระดับที่สามร่วมกับการฉีกขาดเข้าไปในทวารหนัก
Bleeding per vagina
ชั่วโมงที่สองออกไม่เกิน 30 ML
รวมกัน 2 hr. ไม่เกิน 100 ml ชุ่มผ้าอนามัยไม่เกิน 2 ผืน
ชั่งโมงแรกออกไม่เกิน 60 mL
เลือดควรมีสีแดงดี ไม่มี blood clot
Active menagement
การป้องกัน การเสียเลือดในระยะที่ 3 ของการคลอด
1.หลังทารกคลอดครบ ฉีด oxytocin 10 unit เข้า IM ของมารดา
2.เพื่อให้มดลูกหดรัดตัว
3.ทำให้รกคลอดเร็ว
4.ป้องกันทารกเสียเลือดในระยะที่ 3 ของการคลอด
การประเมิน APGAR
ประเมินคะแนนจากอะไรบ้าง
P = Pulse เป็นการประเมินชีพจรหรืออัตราการเต้นของหัวใจ
G = Grimace เป็นการประเมินปฏิกิริยาตอบสนองต่อการกระตุ้น
A = Activity เป็นการประเมินกล้ามเนื้อกำลังแขนและขา ความตึงตัวของกล้ามเนื้อ หรือการเคลื่อนไหวของแขนขา
A = Appearance เป็นการประเมินสีผิว
R = Respiration เป็นการประเมินการหายใจ
การประเมินสภาวะเด็กทารกแรกเกิดใน 1 นาทีแรก ต่อด้วย 5 นาที และ 10 นาที หลังคลอด
มีคะแนน 0-2
การพยาบาล
ขาดออกซิเจนเล็กน้อย = 4- 6 คะแนน
กระตุ้นให้ร้องด้วยการลูบหลัง, ผ่าเท้า
ให้ 02 mask 4 LI min
suction ดูดเมือก และน้ำคร่ำจากปาก คอ จมูก
ขาด 02 รุนแรง = 0 - 3 คะแนน
ช่วยการหายใจด้วย Ambu beg
ใส่เครื่องช่วยหายใจ Endotracheal tube
ปกติ = 7-10 คะแนน
ให้ความอบอุ่นแก่ร่างกาย -Keep warm
ดูแลทางเดินหายใจให้โล่ง -suction
นางสาวปวีณา หมื่อโป เลขที่ 51