Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์ (Hypertensive disorders of pregnancy),…
ภาวะโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์ (Hypertensive disorders of pregnancy)
ภาวะครรภ์เป็นพิษระยะชัก (eclampsia)
ภาวะชักแบบ generalized convulsions
หรือ grandmal seizures
การชักเกร็งแบบชักกระตุก (tonic-clonic) ที่เกิดขึ้นใน
preeclampsia หรือ gestational hypertension
สาเหตุ
Cerebral vasospasm ร่วมกับlocal ischemia ,Vasogenic edema, endothelial damage และhypertensiv eencephalopathy ร่วมกับhyperperfusion
สาเหตุไม่ชัดอาจเกิดได้หลายสาเหตุ
Utero-placental ischemic ทำให้มีการหลั่งสาร moleculas กระตุ้นสมองก่อนอาการชัก
ปัจจัยเสี่ยง
ประวัติครรภ์เป็นพิษก่อน
ผ่านการคลอดบุตรคนก่อนมาอย่างน้อย 10 ปี
Nulliparity
สตรีอายุมากขึ้นตั้งแต่ 35 ปีขึ้นไป
BMI 30 kg/m2 ขึ้นไป/อ้วน
Multiple pregnancy จะมีความเสี่ยงมากกว่า twin pregnancy
ประวัติความเจ็บป่วย
อาการและอาการแสดง
ระยะชักเกร็ง (contraction หรือtonic stage)
ลำตัวเหยียด ศรีษะหงายไปด้านหลัง
กำมือแน่น ขาบิดเข้าด้านใน
เกร็งงกล้ามเนื้อทั่วร่างกาย
อาจมีการหยุดหายใจ หน้าเขียว
ระยะชักกระตุก (Stage of convulsion หรือ clonic stage)
กัดลิ้นบาดเจ็บ มีน้ำลายฟูมปาก ใบหน้าบวมสีม่วง ตาแต้มเลือด
อาจสูญเสียความสามารถ
ในการควบคุมการขับถ่ายอุจจาระและปัสสาวะ
มีการกระตุกของ
กล้ามเนื้อทั่วร่างกายอย่างแรง
ระยะเริ่มแรกของอาการชัก (stage
of invasion)
กล้ามเนื้อใบหน้าและมุมปากกระตุก
ริมฝีปากเบี้ยว
ระยะหมดสติ (coma หรือ unconscious)
อาจมีอาการหยุดหายใจเป็นบางครั้ง
ทำให้คาร์บอนไดออกไซด์คั่งเกิด
ภาวะ repiratory acidosis ร่างกายมีการปรับโดยการหายใจเร็ว (hyperventilation)
นอนนิ่งไม่เคลื่อนไหวอยู่ในสภาพหมดแรง
การคั่งของ latic acid อาจมีอาการเขียว (cyanosis)
หากไม่ได้รับการรักษาจะมีอาการชักซ้ำได้อีกในเวลาที่ถี่ขึ้น
ระยะก่อนชัก (premonitoring
stage)
กระสับกระส่าย ตามองนิ่งอยู่กับที่
ศรีษะหมุนไปด้านหนึ่งจนตึง รู้ม่านตาขยาย
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์
หัวใจล้มเหลว จากการมี venous
ไตวายเฉียบพลัน เนื่องจากเลือดไปเลี้ยงไตน้อยลง
หัวใจขาดเลือด
น้ำท่วมปอด
รกลอกตัวก่อนกำหนด
เลือดออกในสมอง
เกิดการเสรยชีวิต
เกร็ดเลือดต่ำ
หลอดเลือดอุดตัน
ผลกระทนต่อทารก
ทารกคลอดก่อนกำหนด
แท้งหรือเสียชีวิตในครรภ์
ขาดออกซิเจน เลือดเป็นกรด
การได้รับการรักษาด้วย MgSo4 ในระยะคลอด ทารกอาจเกิด reflex และการหายใจไม่ดี
ทารกโตช้าในครรภ์
ความดันโลหิตสูงเรื้อรัง(Chronic/preexisting
hypertension)
กสาเหตุอื่นที่ไม่ใช่ gestational trophoblastic diseases
ความดันโลหิตนั้นยังคงสูงอยู่นานกว่า 12 สัปดาห์หลังคลอด
ภาวะความดัน
โลหิตสูงที่เป็นมาก่อนการตั้งครรภ์
ชนิดของภาวะความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์
ครรภ์เป็นพิษ หรือ ภาวะครรภ์เป็นพิษระยะก่อนชัก (preeclampsia)
ความดันโลหิตสูงเรื้อรัง (chronic/preexisting hypertension)
ความดันโลหิตสูงจากการตั้งครรภ์(gestational hypertension)
ครรภ์เป็นพิษซ้อนทับกับความดันโลหิตสูงเรื้อรัง (preeclampsia superimposed on chronic hypertension)
ครรภ์เป็นพิษก่อนระยะชัก (Preeclampsia)
ภาวะครรภ์เป็นพิษก่อนระยะชัก (Preeclampsia)
อาการการแสดงอาการ
การมองเห็นผิดปกติ
ปวดใต้ชายโครงขวาจุกแน่นใต้สิ้นปี่
ปวดศรีษะ
Systolic BP ≥ 160 mmHg.
Diastolic BP≥ 110 mmHg
น้ำท่วมปอด,เลือดออกในสมอง,มีการการชักแบบทั้งตัว
เกณฑ์การวินิจฉัย
เกณฑ์การวินิจฉัยเกี่ยวกับโปรตีนในปัสสาวะ (proteinuria)
+1=30 mg%
+2=100 mg%
Trace=มีเพียงเล็กน้อย
(<300 mg/d)
+3=300 mg%
+4=(>1000mg%)(1g)
ยกเลิกเกณฑ์การวินิจฉัยภาวะครรภ์เป็นพิษระดับรุนแรง (severe preeclampsia) โดยใช้
เกณฑ์ proteinuria มากกว่า 5 กรัมในปัสสาวะ 24 ชั่วโมง รวมทั้งยกเลิกเกณฑ์ทารกเจริญเติบโตช้า
ในครรภ์ (fetal growth restriction)
เกณฑ์การวินิจฉัยเกี่ยวกับความดันโลหิตสูง
การพบโปรตีนในปัสสาวะ
เกล็ดเลือดต่ำ
อาการทางตา และสมอง
ค่าความดันโลหิตสูง
ภาวะน้ำท่วมปอด
ภาวะครรภ์เป็นพิษเป็นกลุ่มอาการที่เกิดเฉพาะกับการตั้งครรภ์ ( pregnancy specific
syndrome)
การประเมินและวินิจฉัย
การตรวจร่างกาย
การประเมินระดับรีเฟล็กซ์ (grading reflexes)
การประเมินอาการบวม
การประเมินความดันโลหิต
ประเมินอาการบวมกดบุ๋ม (pitting edema)
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
liver function test
renal functiontest
CBC, platelet count
cogulation profile
ซักประวัติ
การตรวจพิเศษ การตรวจพิเศษเพื่อทำนายการเกิด preeclampsia
Isometric exercise
Doppler velocimetry
Roll over test
Specific blood testing
Angiotensin sensitivity test
Mean arterial blood pressure (MAP)
แนวทางการรักษา
การรักษา preeclampsia without severe features
ทำให้การตั้งครรภ์ดำเนินต่อไปจนครบกำหนดคลอด
การป้องกันการชัก
เฝ้าระวังการเกิด sever features
ควบคุมความดันโลหิต
ดูแลควบคุมอาการไม่ให้รุนแรง
ยุติการตั้งครรภ์
การนอนพัก
ให้ยา MgSO4 ป้องกันอาการชัก
GA<34wk. Preterm labor ให้glucocorticoid
การรักษา eclampsia
แก้ไขภาวะพร่องออกซิเจนและเป็นกรดในร่างกาย
ควบคุมความดีนโลหิต
ควบคุมอาการชัก
ตรวจสอบOliguria/anuria
ห้ามใช้ยา tocolyticdrug
ยาที่ใช้ในการรักษาภาวะความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์
ยาป้องกันการชัก
MgSO4
ยาลดความดันโลหิต
Hydralazine
Labetalol
Nifedipine
ความหมายของภาวะโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์
เป็นภาวะแทรกซ้อนทางสูติกรรมที่รุนแรงโดยพบได้
ร้อยละ 5-10 ของการตั้งครรภ์ทั้งหมด
รกลอกตัวก่อนกำหนด การแข็งตัว
ของเลือดผิดปกติ เลือดออกในสมอง ตับและไตวาย
สตรีตั้งครรภ์มีโอกาสเสี่ยงที่จะเกิดภาวะแทรกซ้อนที่รุนแรง
เกิดผลกระทบระยะยาวของภาวะครรภ์เป็นพิษต่อสตรีคือเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด
เป็น 1 ใน 3 สาเหตุหลักของการตายของมารดาทั่วโลก
ครรภ์เป็นพิษซ้อนทับกับความดันโลหิตสูงเรื้อรัง (preeclampsia superimposed on
chronic hypertension)
การวินิจฉัยภาวะ superimposed preeclampsia ในสตรีความดัน
โลหิตสูงเรื้อรังที่ไม่เคยมีโปรตีนในปัสสาวะก่อนอายุครรภ์ 20 สัปดาห์
มีภาวะความดันโลหิตสูงเรื้อรัง เมื่อตั้งครรภ์แล้วพบมี
ภาวะครรภ์เป็นพิษแทรกซ้อน
เกณฑ์การตรวจพบโปรตีน
ในปัสสาวะที่เกิดขึ้นใหม่ สำหรับสตรีความดันโลหิตสูงเรื้อรังที่มีโปรตีนในปัสสาวะอยู่เดิม
นางสาวสร้อยสุดา ติ๊บอินถา 6201210095 เลขที่ 4 sec B