Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่4 การพยาบาลสตรีตั้งครรภ์ที่มีภาวะแทรกซ้อนทางสูติกรรมขณะตั้งครรภ์ -…
บทที่4 การพยาบาลสตรีตั้งครรภ์ที่มีภาวะแทรกซ้อนทางสูติกรรมขณะตั้งครรภ์
ภาวะอาเจียนอย่างรุนแรง
สาเหตุ
ไม่ทราบสาเหตุที่แท้จริง แต่อาจเกิดจากปัจจัยเสริม
ปัจจัยด้านมารดา
มีพฤติกรรมการบริโภคอาหารไม่เหมาะสมตั้งแต่ก่อนตั้งครรภ์ เช่น รับประทานอาหารที่
มีไขมันสูง
มีความผิดปกติของระบบทางเดินอาหาร เช่น กระเพาะอาหารหรือลำไส้อักเสบ ถุงน้ำดี
อักเสบ
มีประวัติการแพ้ท้องอย่างรุนแรงในครรภ์ก่อน หรือเป็นการตั้งครรภ์ครั้งแรก
กระเพาะอาหารมีการเคลื่อนไหวลดลง
การตั้งครรภ์ที่มีระดับฮอร์โมนเอสโตรเจน (estrogen) สูง หรือมีระดับ human
chorinoic gonadotropin (hCG) เพิ่มมากกว่าปกติ เช่น การตั้งครรภ์แฝด
สภาพจิตใจ ความเครียด ความวิตกกังวล ที่อาจมีสาเหตุต่าง ๆ เช่น การตั้งครรภ์ไม่
พึงประสงค
ปัจจัยด้านทารก
ทารกมีความผิดปกติเกี่ยวกับโครโมโซม triploidy, trisomy 21 และ
ทารกบวมน้ำ (hydrops fetalis)
อาการและอาการแสดง
มีอาการคลื่นไส้อาเจียนอย่างรุนแรง เป็นระยะเวลานานอาจตลอดทั้งวัน อาการรุนแรงอาจเพิ่ม
มากขึ้น จนไม่สามารถยับยั้งได้
หากอาการอาเจียนรุนแรงมากขึ้น คือมีอาการอาเจียน 5-10 ครั้งต่อวัน หรือมากกว่า เป็นเวลา
หลายวัน
ลมหายใจมีกลิ่นอะซิโตน (acetone) ตรวจพบคีโนในปัสสาวะ (ketonuria)
มีอาการแสดงของกลุ่มอาการ Wenicke’s encephalopathy จากการขาดวิตามินบี 1โดยจะมีอาการมองเห็นภาพซ้อน (ophthalmoplegia) เซ (gait ataxia) และสับสน (confusion)
เกิดความไม่สมดุลของร่างกาย เกิดภาวะ acidosis และ alkalosis และความไม่สมดุลของเกลือแร่ (electrolyte imbalance) เช่น ปากคอแห้ง กระหายน้ำ กล้ามเนื้อกระตุกหรืออ่อนแรงระดับความรู้สึกตัวเปลี่ยนแปลง
มีอาการแสดงทางด้านจิตใจ เช่น ความเครียด ความวิตกกังวล ภาวะซึมเศร้า
มึอาการแสดงของภาวะขาดสารน้ำ (dehydration) ได้แก่ อ่อนเพลีย ทำกิจวัตรประจำวันไม่ได้ริมฝีปากแห้ง ตาโหลลึก ผิวหนังแห้งขาดความชุ่มชื้น มีไข้ปัสสาวะออกน้อย ความดันโลหิตลดลง
หากอาการอาเจียนรุนแรงมากขึ้น คือมีอาการอาเจียน 5-10 ครั้งต่อวัน หรือมากกว่า เป็นเวลา
หลายวัน
หากอาการอาเจียนไม่รุนแรงมาก สามารถทำกิจวัตรประจำวันได้ตามปกติน้ำหนักจะลดลงเล็กน้อย ไม่มีอาการขาดน้ำและสารอาหาร
ผลกระทบต่อการตั้งครรภ์
ผลกระทบต่อมารดา
ถ้ามีอาการรุนแรงมาก ร่างกายเสียสมดุลของอิเลคโตรลัยท์เกิดภาวะ hypokalemia,alkalosis กล้ามเนื้ออ่อนแรง
เกิดภาวะความเป็นกรดในร่างกาย เกิดภาวะกรดในกระแสเลือด เนื่องจากการสูญเสียด่าง
ในน้ำย่อยไปกับการอาเจียน ทำให้มีผลกระทบต่อระบบสมองส่วนกลาง มีอาการกระสับกระส่าย ไมjรู้สึกตัว หมดสติ
ทำให้ร่างกายเกิดการขาดน้ำ ทำให้อุณหภูมิสูงขึ้น ชีพจรเบาเร็วและความดันโลหิตต่ำลง มี
ผลกระทบต่อการทำงานของไต ปัสสาวะออกน้อย มีไข้ผิวหนังแห้ง มีอาการอ่อนเพลีย
. เกิดภาวะขาดสารอาหาร มีผลกระทบต่อตับ ค่า SGOT เพิ่มขึ้น มีอาการของการขาดวิตามิน เช่น ชาปลายมือปลายเท้าจากการขาดวิตามิน B1 ขาดวิตามินซีและวิตามินบีรวม การแข็งตัวของเลือดเสียไป มีเลือดออกตามไรฟัน จุดเลือดออกทั่วไปทั่วสมอง ทำให้ซึมและหมดสติและอาจเสียชีวิตได้จากภาวะ hepatic coma
ผลกระทบต่อทารกในครรภ์
หากสตรีตั้งครรภ์อาการรุนแรงมาก เกิดภาวะเป็นกรดในร่างกาย อาจทำให้ทารกมีอาการทางสมอง เกิดภาวะ Wernicke’s encephalopathy
อาจทำให้แท้ง คลอดก่อนกำหนด ทารกอาจตายคลอด และทารกพิการ (Fetal anomalies) จากการขาดสารอาหารได้
. หากสตรีตั้งครรภ์มีน้ำหนักลดลงมาก จะทำให้ทารกในครรภ์เติบโตช้า และน้ำหนักแรกคลอดน้อยกว่าปกติ
การวินิจฉัย
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจเลือด
การตรวจปัสสาะ
การตรวจพิเศษ
การตรวจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูงและการเจาะตรวจน้ำคร่ำ
การซักประวัติตรวจร่างกาย ประเมินจากอาการและอาการแสดงของ การอาเจียนรุนแรง
แนวทางการรักษา
การรักษาด้วยยา
เมื่ออาการแพ้ท้องรุนแรงดีขึ้น ให้คำแนะนำ
ให้รับประทานอาหารอ่อน ครั้งละน้อยแต่บ่อยครั้งทุก 2-3 ชั่วโมง
รับประทานอาหารที่มีส่วนประกอบของขิงสามารถช่วยลดอาการคลื่นไส้ได้
หากอาการรุนแรงมาก ควรงดอาหารและน้ำทางปาก และรีบแก้ไขภาวะขาดน้ำ
หลีกเลี่ยงสิ่งแวดล้อม และสิ่งกระตุ้นที่ทำให้คลื่นไส้อาเจียน เช่น กลิ่น ความร้อน
หากอาการไม่รุนแรงสามารถรับประทานอาหารได้แนะนำให้รับประทานอาหารที่ช่วยทดแทนเกลือแร่ที่สูญเสียไปกับการอาเจียน
ควรวินิจฉัยแยกโรคภาวะอาเจียนอย่างรุนแรงจากอาการของโรคอื่นๆ
การตั้งครรภ์เกินกำหนด
ภาวะถุงน้ำแตกก่อนกำหนด
ทารกในครรภ์อยู่ในภาวะคับขัน
ภาวะเจ็ยครรภ์คลอดก่อนกำหนด
ภาวะโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์
ระดับความดันโลหิตในสตรีตั้งครรภ์
ระดับความดันโลหิตในสตรีตั้งครรภ์จะต่ำกว่าขณะที่ไม่ตั้งครรภ์และจะต่ำสุดในระยะไตรมาสที่ 2 ของการตั้งครรภ์ หลังจากนั้นจะค่อยๆ เพิ่มขึ้นในไตรมาสที่ 3 จนกระทั่งอยู่ในระดับเดียวกับขณะที่ไม่ได้ตั้งครรภ
ชนิดของภาวะความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์
ความดันโลหิตสูงจากการตั้งครรภ์(gestational hypertension)
ความดันโลหิตสูงเรื้อรัง (chronic/ preexisting hypertension)
ครรภ์เป็นพิษ หรือ ภาวะครรภ์เป็นพิษระยะก่อนชัก (preeclampsia)
ครรภ์เป็นพิษซ้อนทับกับความดันโลหิตสูงเรื้อรัง (preeclampsia superimposed on chronic hypertension)
เกณฑ์การประเมินความรุนแรงของภาวะ preeclampsia
ครรภ์เป็นพิษที่มีลักษณะไม่รุนแรง(preeclampsia without severe features)
ครรภ์เป็นพิษที่มีลักษณะรุนแรง (preeclampsia with severe features)
สาเหตุและปัจจัยเสี่ยง
ประวัติครรภ์เป็นพิษในครรภ์ก่อน มีความเสี่ยงเพิ่มขึ้น 7 เท่า
สตรีที่ไม่เคยคลอดบุตรมาก่อน (nulliparity)
ผ่านการคลอดบุตรคนก่อนมาอย่างน้อย 10 ปี มีความเสี่ยงเพิ่มขึ้น
สตรีอายุมากขึ้นตั้งแต่ 35 ปีขึ้นไป ทั้งสตรีที่ไม่เคยผ่านการคลอด และเคยผ่านการคลอดมาแล้ว
ดัชนีมวลกายตั้งแต่ 30 kg/m2
ขึ้นไป หรืออ้วน
การตั้งครรภ์แฝด
ประวัติพันธุกรรมครรภ์เป็นพิษในครอบครัวของสตรีตั้งครรภ
ประวัติมีความเจ็บป่วยทางอายุรกรรมที่เกี่ยวข้อง
ความผิดปกติทางสูติกรรม
ภาวะโภชนาการบกพร่อง
อาการและอาการแสดง
ภาวะ preeclampsia
อาการแสดง
1.Systolic BP ≥ 160 mmHg. หรือ Diastolic BP ≥ 110 mmHg.
2.น้ำท่วมปอด
3.Eclampsia คือ มีอาการชักแบบชักทั้งตัว
4.เลือดออกในสมอง
5.ตาบอดจากพยาธิสภาพของครรภ์เป็นพิษในสมอง
อาการ
ภาวะไตวาย serum creatinine ≥ 1.1 mg/dL. หรือปริมาณปัสสาวะออกน้อยกว่า
500 มิลลิลิตร ใน 24 ชั่วโมงหลังจากได้รับน้ำอย่างเพียงพอ
การทำงานของตับผิดปกติ ระดับเอนไซม์ AST และ/หรือ ALT สูงกว่า 70 IU/L หรือ
มากกว่า 2 เท่าของค่าเดิม
เกล็ดเลือดต่ำ มี platelet count < 100,000 ต่อไมโครลิตร
ระบบการแข็งตัวของเลือดผิดปกติ
HELLP syndrome
ภาวะ Eclampsia
ระยะเริ่มแรกของอาการชัก (Stage of invasion)
ระยะชักเกร็ง (Stage of contraction หรือ tonic stage)
ระยะชักกระตุก (Stage of convulsion หรือ clonic stage)
ระยะหมดสติ (coma หรือ unconscious)
ระยะก่อนชัก (Premonitoring stage)
ผลกระทบต่อภาวะสุขภาพของสตรีตั้งครรภ์และทารก
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์
น้ำท่วมปอด หรือปอดบวมน้ำ
เลือดออกในสมอง (cerebral henorrhage)
ไตวายเฉียบพลัน เนื่องจากเลือดไปเลี้ยงไตน้อยลง
เลือดออกในตับจนมีการตายของเซลล์ตับ หรือตับวาย (hepatic failure)
หัวใจล้มเหลว จากการมี venous return เพิ่มอย่างรวดเร็ว
เกล็ดเลือดต่ำ
หัวใจขาดเลือด
การหลุดของเรตินา (retina detachment) ทำให้ตาบอดชั่วคราวได้
เลือดแข็งตัวผิดปกติ(DIC)
หลอดเลืออุดตัน (deep venous thrombosis)
รกลอกตัวก่อนกำหนด
อันตรายจากการชัก เช่น สำลักเศษอาหารเข้าหลอดลม กัดลิ้น ข้อเคลื่อน กระดูกหัก เป็นต้น
ผลกระทบต่อทารก
ทารกโตช้าในครรภ์
ขาดออกซิเจน เลือดเป็นกรด
ทารกคลอดก่อนกำหนด
แท้งหรือเสียชีวิตในครรภ์
ทารกตายในครรภ์เฉียบพลันหรือตายในระยะแรกเกิด
กรณีที่ได้รับการรักษาด้วย magnesium sulfate ในระยะคลอด ซึ่งยานี้ผ่านรกไปสู่ทารกได้ ทารกแรกเกิดอาจมีรีเฟล็กซ์ และการหายใจไม่ดี แต่อาการเหล่านี้จะค่อยๆหายไปภายใน 3-4 วัน
แนวทางการรักษา
การรักษา preeclampsia with severe features
ยาที่ใช้ในการรักษาภาวะความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์
. ยาป้องกันการชัก (anticonvulsant)
ยาลดความดันโลหิต (antihypertensive dtrugs)
การรักษา preeclampsia without severe features
เบาหวานในสตรีตั้งครรภ์
โรคเบาหวานขณะตั้งครรภ์