Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
4.1 ภาวะอาเจียนอย่างรุนแรง - Coggle Diagram
4.1 ภาวะอาเจียนอย่างรุนแรง
สาเหตุ : ยังไม่ทราบแน่ชัด
ปัจจัยด้านมารดา
การบริโภคอาหารที่ไม่เหมาะสมตั้งแต่ก่อนการตั้งครรภ์
ความผิดปกติของระบบทางเดินอาหาร : กระเพาะอาหารหรือลำไส้อักเสบ
มีประวัติแพ้ท้องอย่างรุนแรงในครรภ์ก่อน / ตั้งครรภ์ครั้งแรก
กระเพาะอาหารมีการเคลื่อนไหวลดลง จากการเพิ่มขึ้นของ Progesterone ทำให้หลั่ง HCI ลดลง
Estrogen สูง / hCG เพิ่มมากกว่าปกติ : ครรภ์แฝด,Hyperthyroidism
สภาพจิตใจ ความเครียด ความวิตกกังวล กระตุ้น cerebral cortex และ limbic system ส่งกระแสประสาททำให้อาเจียน
ปัจจัยด้านทารก
การผิดปกติเกี่ยวกับโครโมโซม triploidy, trisomy 21
Hydrops fetalis
แนวทางการรักษา
การรักษาด้วยยา
วิตามิน : วิตามินบี 6 (Pyridoxine) 10-25 mg. 1 เม็ด
รับประทาน 3-4 ครั้งต่อวัน ไม่เกิน 200 mg/วัน
ยาคลายกังวล : Diazepam 2 mg. 1 เม็ด ครั้งต่อวัน รับประทาน 2 ครั้งต่อวัน / Diazepam 5 mg. 1 เม็ด รับประทานก่อนนอน
ยาแก้คลื่นไส้อาเจียน : Metoclopramide 5-10 mg. IM q 6-8 hr. / Promethazine 12.5–25 mg. IM q 4-5 hr. / หากดีขึ้นให้เป็นยารับประทาน
อาการแพ้ท้องรุนแรง
รับประทานอาหารอ่อนครั้งละน้อยแต่บ่อยครั้งทุก2-3 hr. รับประทานอาหาร
ที่มีโปรตีนสูง เช่น ขนมปังกรอบ หลีกเลี่ยงอาหารรสเผ็ดอาหารมันหลีกเลี่ยงอาหารที่มีกลิ่นทําให้คลื่นไส้ อาเจียน
รับประทานอาหารที่มีส่วนประกอบของขิงสามารถช่วยลดอาการคลื่นไส้ได้ เช่น น้ําขิง
อาการรุนแรงมาก : NPO และรีบแก้ไขภาวะขาดน้ำ ความไม่สมดุลของเกลือแร่ และกรด-ด่าง ในเลือด
5% D/NSS 1,000 ml. IV
Parenteral nutrition therapy มากกว่า 2,000 แคลอรี่
หลีกเลี่ยงสิ่งแวดล้อม และสิ่งกระตุ้นที่ทําให้คลื่นไส้อาเจียน
แนะนำให้รับประทานอาหารที่ช่วยทดแทนเกลือแร่ที่สูญเสียไปกับการอาเจียน
อาหารที่มีโปแทสเซียม : กล้วย สัปปะรด ส้ม
และผักใบเขียว
อาหารที่มีแมกนีเซียม : ผัก ถั่วชนิดต่างๆ
น้ำตะไคร้ น้ำผลไม้
อาการไม่ดีขึ้น จะต้องทําการวินิจฉัยเพื่อค้นหาสาเหตุของโรคที่ แท้จริง เพื่อทําการรักษาอย่างเหมาะสม
วินิจฉัยแยกโรคภาวะอาเจียนอย่างรุนแรงจากอาการของโรคอื่น
การวินิจฉัย
ตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ตรวจเลือด
Hct สูง / BUN สูง / Na ต่ำ / K ต่ำ / Cl ต่ำ / SGOT สูง / LFT สูง / Protein ต่ำ
ตรวจปัสสาวะ
ความถ่วงจำเพาะสูง / albumin เพิ่มขึ้น / Ketonuria / รุนแรงมากจะมีน้ำดีในปัสสาวะ
ตรวจพิเศษ : เจาะตรวจน้ำคร่ำ
ซักประวัติ / ตรวจร่างกาย / ประเมินอาการ / การอาเจียน / การขาดน้ำขาดสารอาหาร / น้ำหนักตัว / สภาพจิตใจ
ผลกระทบต่อการตั้งครรภ์
ต่อมารดา
เกิดภาวะกรดในกระแสเลือด : กระสับกระส่าย ไม่รู้สึกตัว หมดสติ
Hypokalemia , alkalosis , กล้ามเนื้ออ่อนแรง
เกิดการขาดน้ำ / อุณหภูมิสูงขึ้น / ชีพจรเบาเร็ว / BP ต่ำลง ส่งผลกระทบต่อ
การทำงานของไต : ปัสสาวะน้อย มีไข้ ผิวหนังแห้ง อ่อนเพลีย
Malnutrition : ทำให้ซึม / หมดสติ / อาจเสียชีวิตได้จากภาวะ hepatic coma
ต่อทารก
Wernicke's encephalopathy
Abortion / Preterm labor / still birth / Fetal anomalies
เติบโตช้า / น้ำหนักแรกเกิดน้อยกว่าปกติ
อาการและอาการแสดง
คลื่นไส้อาเจียนรุนแรงจนไม่สามารถยับยั้งได้
ไม่รุนแรงมาก : น้ำหนักลดลงเล็กน้อย ไม่มีอาการขาดสารอาหาร
อาการรุนแรงมากขึ้น
ไม่สมดุลของร่างกาย : ภาวะ acidosis และ alkalosis
acetone / ketonuria
Dyhydration : อ่อนเพลีย / ทำกิจวัตรประจำวันไม่ได้ / BP ต่ำ / ซึม มีไข้ เป็นต้น
Wenicke's enceplalopathy จากการขาดวิตามิน B1 : ophthalmoplegia / gait ataxia / confusion
Malnutrition , BW loss
มีอาการด้านจิตใจ : ความเครียด วิตกกังวล ซึมเศร้า
อาเจียน 5-10 ครั้งต่อวันหรือมากกว่า เป็นเวลาหลายวัน
การพยาบาล
การพยาบาลสตรีตั้งครรภ์ที่ได้รับการรักษาแบบผู้ป่วยนอก
รับประทานอาหารประเภทคาร์โบไฮเดรตเชิงเดี่ยว : น้ำหวาน นม
แนะนำให้รับประทานผลไม้
รับประทานอาหารแข็งที่ย่อยง่าย
แนะนำวิธีรับประทานยาแก้อาเจียนตามแผนการรักษา
ก่อนอาหารประทาน 30 นาที
แนะนำให้จิบเครื่องดื่มอุ่นๆ เช่น น้ำขิง
สอนวิธีการประเมินโภชนาการ การคำนวน
พลังงานที่ได้รับจากอาหารที่บริโภค และการชั่งน้ำหนัก
แนะนำวิธีการป้องกันอาการคลื่นไส้อาเจียน : การรับประทานอาหาร ดูแลความสะอาดช่องปากและฟัน
ให้คำปรึกษาแบบแผนรับประทานอาหารให้เพียงพอ
2,000 กิโลแคลอรี่ต่อวัน
อธิบายสาเหตุของการเกิดภาวะอาเจียนรุนแรงและภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้น
ช่วยประคับประคองด้านจิตใจ
การพยาบาลสตรีตั้งครรภ์เมื่อกลับไปอยู่บ้าน
แนะนำการออกกำลังกายหรือกายบริหารเบาๆ อย่างสม่ำเสมอ
แนะนำให้หลีกเลี่ยงสิ่งกระตุ้นให้เกิดความเครียด ทำจิตใจให้สบาย และใช้เทคนิคการผ่อนคลาย
แนะนำให้พักผ่อนอย่างเพียงพอ เพื่อให้ร่างกายผ่อนคลาย
อย่างน้อย 8 ชั่วโมงในเวลากลางคืน และกลางวันอย่างน้อย 1 ชั่วโมง
อธิบายให้คู่สมรสและครอบครัวเข้าใจถึงภาวะที่เกิดขึ้น
แนะนำให้ดื่มน้ำอุ่นทันทีที่ตื่นนอนประมาณครึ่งแก้ว แล้วนอนต่ออีกประมาณ 15 นาทีก่อนที่จะลุกขึ้นปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน
แนะนำให้เห็นความสำคัญของการมาตรวจตามนัดอย่างสม่ำเสมอ และสังเกตอาการผิดปกติที่ควรมาพบแพทย์ก่อนวันนัด
แนะนำการรับประทานอาหารโดยปรับเปลี่ยนแบบแผนการรับประทานอาหารครั้งละน้อยแต่บ่อยครั้ง เป็นอาหารที่ย่อยง่าย หรือมีโปรตีนสูง
การพยาบาลสตรีตั้งครรภ์ที่ได้เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล
จัดสิ่งแวดล้อมให้สะอาด เงียบสงบ เหมาะแก่การพักผ่อน
เมื่อดีขึ้นให้รับประทานอาหารทีละน้อยแต่หลายครั้ง โดยเฉพาะของแข็งแต่ย่อยง่าย เน้นโปรตีน คาร์โบไฮเดรต
บันทึกปริมาณสารน้ำเข้าออกจากร่างกาย โดยเฉพาะ Line output
ไม่ควรน้อยกว่า 1,000 ml. ต่อวัน
ในรายที่มีอาการรุนแรงมากจำเป็นต้องให้อาหารทางสายยางหรือให้สารอาหารทดแทน
ดูแลให้ยาลดอาการคลื่นไส้อาเจียนตามแผนการรักษา
ติดตามชั่งน้ำหนัก และผลทางห้องตรวจปฏิบัติการ เพื่อรายงานแพทย์เมื่อผิดปกติ
ดูแลให้รับสารน้ำทาง IV 3,000 ml. ใน 24 ชั่วโมง โดยอาจผสม glucose, vitamins, electrolyte ต่างๆ ในน้ำ
ดูแลด้านจิตใจโดยการอยู่เป็นเพื่อน ให้กำลังใจ
เปิดโอกาสให้ซักถามข้อสงสัย รับฟัง
ดูแลความสะอาดของช่องปากและพ้น ขณะที่ NPO
ปรึกษาและส่งต่อไปยังผู้เชี่ยวชาญด้านการให้คำปรึกษา เพื่อแก้ไขปัญหาด้านจิตใจ
หลีกเลี่ยงสิ่งที่จะกระตุ้นให้เกิดอาการคลื่นไส้อาเจียน
NPO อย่างน้อย 24-48 ชั่วโมง