Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะอาเจียนรุนแรงในระยะตั้งครรภ์(Hyperemesis gravidarum), นางสาว สร้อยสุดา…
ภาวะอาเจียนรุนแรงในระยะตั้งครรภ์(Hyperemesis gravidarum)
สาเหตุ
ปัจจัยด้านมารดา
การตั้งครรภ์ครั้งแรก
บริโภคอาหารไม่เหมาะสม
ประวัติการแพ้ท้องรุนแรง
Progesterone เพิ่มขึ้น หลังHCL ลดลง
ระดับ Estrogen และ HCG เพิ่มขึ้น
สภาพจิตใจ ความเครียด วิตกกังวล
ปัจจัยด้านทารก
ทารกมีความผิดปกติเกี่ยวกับโครโมโซม triploidy, trisomy 21
ทารกบวมน้ำ (hydrops fetalis)
หมายถึง
พบได้ตั้งแต่ไตรมาสแรกและตลอดการตั้งครรภ์
ภาวะที่สตรีตั้งครรภ์มีอาการคลื่นไส้อย่างรุนแรง และต่อเนื่อง
ส่งผลให้ไม่สามารถรับประทานอาหารได้ตามปกติ
อาการและอาการแสดง
อาการอาเจียนรุนแรงมากขึ้น คือมีอาการอาเจียน 5-10 ครั้งต่อวัน หรือมากกว่า เป็นเวลา
หลายวัน
Dehydration- อ่อนเพลีย ริมฝีปากแห้ง ตาโหลลึก ผิวหนังแห้งขาดความชุ่มชื้น มีไข้ปัสสาวะออกน้อย ความดัน โลหิตลดลง เวียนศีรษะ
ปากคอแห้ง กระหายน้ำ กล้ามเนื้อกระตุกหรืออ่อนแรง
ระดับความรู้สึกตัวเปลี่ยนแปลง
ลมหายใจมีกลิ่นอะซิโตน (acetone) ตรวจพบคีโนในปัสสาวะ (ketonuria)
อาเจียนไม่รุนแรง Body weight
ลดลงเล็กน้อย
Wenicke’s encephalopathy จากการขาดวิตามินบี 1
เซ (gait ataxia)
สับสน (confusion)
รมองเห็นภาพซ้อน (ophthalmoplegia)
. มีอาการคลื่นไส้อาเจียนอย่างรุนแรง เป็นระยะเวลานานอาจตลอดทั้งวัน
มีอาการแสดงทางด้านจิตใจ
ความวิตกกังวล
ภาวะซึมเศร้า
ความเครียด
ผลกระทบต่อทารกในครรภ์
หากสตรีตั้งครรภ์อาการรุนแรงมาก เกิดภาวะเป็นกรดในร่างกาย อาจทำให้ทารกมีอาการ
ทางสมอง เกิดภาวะ Wernicke’s encephalopathy
อาจทำให้แท้ง คลอดก่อนกำหนด ทารกอาจตายคลอด และทารกพิการ (Fetal
anomalies) จากการขาดสารอาหารได้
หากสตรีตั้งครรภ์มีน้ำหนักลดลงมาก จะทำให้ทารกในครรภ์เติบโตช้า และน้ำหนักแรก
คลอดน้อยกว่าปกติ
การวินิจฉัย
ผล LAB
SGOT สูง
LEF สูง
BUN สูง
Na,K,CL ต่ำ
Protein ต่ำ
HCT สูง
Urine
ความถ่วงจำเพาะสูง
Albumin เพิ่มขึ้น
Ketonuria
อาจพบน้ำดีในปัสสาวะ
การตรวจพิเศษ
U/S,Amniocentesis
อาการอาเจียนอย่างรุนแรง,dehydration,BW,สภาพจิตใจ
แนวทางการรักษา
ยาแก้คลื่นไส้อาเจียน
Metoclopramide 5-10 mg. IM
q 6-8 hr.
Promethazine 12.5-25 mg IM
q 4-5 hr.
Oral med เมื่ออาการดีขึ้น
รับประทานอาหารครั้งละน้อยๆแต่บ่อยครั้งทุก 2-3 ชั่วโมง
ให้สารอาหารทางหลอดเลือดดำ Subclavian
รับประทานอาหารที่มีโปรตีนสูง เช่นขนมปังกรอบ หลีกเลี่ยงอาหารรสเผ็ด มัน
หากอาการรุนแรง
5% D/SS 1,000 ml.IV
Parenteral nutrient therapy
NPO
หลีกเลี่ยง กลิ่น เสียงดัง ความร้อน แสงไฟ ที่อาจทำให้เกิดอาการ
รับประทานอาหารทดแทนการสูญ
เสียเกลือเเร่ อาหารที่มี K , Mg
ผลกระทบต่อมารดา
SGOT เพิ่มขึ้น มีอาการของการขาด
วิตามิน ชาปลายมือปลายเท้า มีเลือดออกตามไรฟัน
ร่างกายเสียสมดุลของอิเลคโตรลัยท์เกิดภาวะ hypokalemia,
alkalosis กล้ามเนื้ออ่อนแรง
เกิดภาวะAcidosis,Metabolic
acidosis
เกิดลกระทบต่อระบบสมองส่วนกลาง
กระสับกระส่าย ไม่
รู้สึกตัว หมดสติ
ผลกระทบต่อการทำงานของไต ปัสสาวะออกน้อย มีไข้ผิวหนังแห้ง มีอาการอ่อนเพลีย
นางสาว สร้อยสุดา ติีบอินถา 6201210095 เลขที่ 4 sec B