Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะอาเจียนรุนแรงในระยะตั้งครรภ์ (Hyperemesis gravidarum) - Coggle Diagram
ภาวะอาเจียนรุนแรงในระยะตั้งครรภ์ (Hyperemesis gravidarum)
สาเหตุ
ปัจจัยด้านมารดา
การตั้งครรภ์ที่มีระดับฮอร์โมนเอสโตรเจน (estrogen) สูง หรือมีระดับ human chorinoic gonadotropin (hCG) เพิ่มมากกว่าปกติ
มีประวัติการแพ้ท้องอย่างรุนแรงในครรภ์ก่อน
มีพฤติกรรมการบริโภคอาหารไม่เหมาะสมตั้งแต่ก่อนตั้งครรภ์
มีความผิดปกติของระบบทางเดินอาหาร
กระเพาะอาหารมีการเคลื่อนไหวลดลง จากการเพิ่มขึ้นของฮอร์โมนโปรเจสเตอร์โรน (progesterone) ขณะตั้งครรภ์
สภาพจิตใจ ความเครียด ความวิตกกังวล
ปัจจัยด้านทารก
ทารกมีความผิดปกติเกี่ยวกับโครโมโซม triploidy, trisomy 21 และ ทารกบวมน้ํา (hydrops fetalis)
อาการและอาการแสดง
อาการคลื่นไส้อาเจียนอย่างรุนแรง
ขาดสารอาหาร และน้ําหนักลดลงมาก
ลมหายใจมีกลิ่นอะซิโตน (acetone) ตรวจพบคีโตนในปัสสาวะ (ketonuria)
เกิดความไม่สมดุลของร่างกาย
ภาวะ acidosis
alkalosis
มีอาการแสดงของกลุ่มอาการ Wenicke’s encephalopathy
ผลกระทบต่อการตั้งครรภ์
ผลกระทบต่อมารดา
ร่างกายเกิดการขาดน้ํา
เกิดภาวะความเป็นกรดในร่างกาย
เกิดภาวะ hypokalemia, alkalosis กล้ามเนื้ออ่อนแรง
เกิดภาวะขาดสารอาหาร มีผลกระทบต่อตับ ค่า SGOT เพิ่มขึ้น
ผลกระทบต่อทารกในครรภ์
ทารกในครรภ์เติบโตช้า
ทารกมีอาการ ทางสมอง เกิดภาวะ Wernicke’s encephalopathy
แท้ง
การวินิจฉัย
การซักประวัติ ตรวจร่างกาย ประเมินจากอาการและอาการแสดง
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจพิเศษ
แนวทางการรักษา
ควรวินิจฉัยแยกโรคภาวะอาเจียนอย่างรุนแรงจากอาการของโรคอื่นๆ
แนะนําให้รับประทานอาหารที่ช่วยทดแทน เกลือแร่ที่สูญเสียไปกับการอาเจียน
หากอาการรุนแรงมาก ควรงดอาหารและน้ําทางปาก และรีบแก้ไขภาวะขาดน้ํา
การรักษาด้วยยา
ยาแก้คลื่นไส้อาเจียน
วิตามิน
ยาคลายกังวล และยานอนหลับ
การพยาบาล
การพยาบาลสตรีตั้งครรภ์ที่ได้รับการรักษาแบบผู้ป่วยนอก
อธิบายให้สตรีตั้งครรภ์เข้าใจถึงสาเหตุของการเกิดภาวะอาเจียนรุนแรง
แนะนําวิธีการป้องกันอาการคลื่นไส้อาเจียน
การรับประทานอาหารครั้งละน้อยๆ แต่บ่อยครั้ง ไม่ควรให้กระเพาะอาหารว่าง
งดอาหารไขมัน
รับประทานอาหารเหลว อาหารน้ํา
หลีกเลี่ยงอาหารรสจัดและอาหารที่มีกลิ่นแรง
หลังรับประทานอาหารไม่ควรนอนทันที ป้องกันการไหลท้นกลับของน้ําย่อย
ดูแลความสะอาดของปากและฟัน
แนะนําให้รับประทานผลไม้
การพยาบาลสตรีตั้งครรภ์ที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล
ดูแลให้งดอาหารและน้ําทางปาก (Nothing Per Oral: NPO) อย่างน้อย 24-48 ชั่วโมง
หลีกเลี่ยงสิ่งที่จะกระตุ้นให้เกิดอาการคลื่นไส้อาเจียน
ดูแลความสะอาดของช่องปากและฟัน
ดูแลให้ได้รับสารน้ําทางหลอดเลือดดํา
ดูแลให้ยาลดอาการคลื่นไส้อาเจียน ตามแผนการรักษา
บันทึกปริมาณสารน้ําเข้าออกจากร่างกาย
ดูแลด้านจิตใจโดยการอยู่เป็นเพื่อน ให้กําลังใจ
การพยาบาลสตรีตั้งครรภ์เมื่อกลับไปอยู่บ้าน
แนะนําการรับประทานอาหาร
แนะนําให้ดื่มน้ําอุ่นทันที่ตื่นนอนประมาณครึ่งแก้ว
แนะนําให้พักผ่อนอย่างเพียงพอ
แนะนําการออกกําลังกายหรือกายบริหารเบาๆ
แนะนําให้หลีกเลี่ยงสิ่งกระตุ้นให้เกิดความเครียด ทําจิตใจให้สบาย