Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พยาธิสรีรวิทยาของระบบประสาท - Coggle Diagram
พยาธิสรีรวิทยาของระบบประสาท
หน้าที่ของระบบประสาท
รับความรู้สึก (Sensory)
วิเคราะห์ข้อมูล (Processimg)
สั่งงานและควบคุมการทำงาน (Motor system)
เนื้อเยื่อประสาท (Nervous tissue)
หน้าที่และส่วนประกอบของเนื้อเยื่อประสาท
เซลล์ประสาท (nerve cell หรือ neuron)
เซลล์เนื้อเยื่อเกี่ยวพันประสาท (neuroglia)
โครงสร้างของเซลล์ประสาท
ตัวเซลล์ (cell body) เป็นส่วนที่มี
นิวเคลียสและไซโตพลาสซึม
เส้นใยประสาท (nerve fiber) คือส่วนที่เป็ นแขนงของไซโตพลาสซึม (cytoplasmic process) ที่ยื่นออกจากตัวเซลล์
เส้นใยแอกซอน (axon fiber)
ทำหน้าที่นำกระแสความรู้สึกส่งไปยังเซลล์ประสาทถัดไป
เส้นใยเดนไดรท์ (dendrite fiber)
เส้นใยเดนไดรท์ทำหน้าที่รับความรู้สึกเข้าสู่ตัวเซลล์
ชนิดของเซลล์ประสาท
2.เซลล์ประสาทสองขั้ว (bipolar neuron)
มีแขนงยื่นจากตัวเซลล์ 2 เส้นในบริเวณตรงข้ามกัน
3.เซลล์ประสาทหลายขั้ว (multipolar neuron)
มีแขนงของแอกซอน 1 เส้น
และมีเดนไดรท์หลายเส้นยื่นออกมาจากตัวเซลล์
เซลล์ประสาทขั้วเดียว (unipolar neuron)
เซลล์ชนิดนี้มีเซลล์ยื่นออกจากขั้วแค่ 1 เส้น
4. โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์เนื้อเยื่อเกี่ยวพันประสาท
แอสโตรไซท์ (astrocyte) ช่วยพยุงและเชื่อมปลายประสาทที่ชำรุด
โอลิโกเดนโดรไซท์ (oligodendrocyte) ช่วยสร้างเยื่อไมอีลิน(myelin sheath)
เซลล์ชวันน์ (schwann cell) หรือ นิวโรเลมมา(neurolemma) บุอยู่รอบแอกซอนทำหน้าที่สร้างเยื่อไมอีลิน
ไมโครเกลีย (microglia) กำจัดสิ่งแปลกปลอม
เซลล์อิแพนไดมา (epandyma cell) บุช่องในสมองและไขสันหลัง
Cerebrospinal Fluid (CSF)
ทำหน้าที่
ปกป้ องสมองและไขสันหลังจากการ
กระทบกระเทือน
ช่วยกำจัดของเสียจากเนื้อสมองและไขสันหลัง
ช่วยคงรูปของสมองและไขสันหลังไว้
ลักษณะ
สร้างวันล่ะ 500 มิลลิลิตรต่อวัน
ประกอบด้วย น้ำ โปรตีน น้ำตาล เซลล์เม็ดเลือดขาวและแดง
มีสีขาวใส
โรคกล้ามเนื้ออ่อนแรง
Myasthenia gravis (MG)
เกิดจากความผิดปกติของสารสื่อประสาท ชื่อ อะซีทิลโคลีน (acetylcholine)
พบว่าตัวรับ (receptor) ของสารสื่อประสาทอะซีติลโคลีนถูกทำลายทำให้มีจำนวนตัวรับลดลง อัน เนื่องมาจากการทำงานของระบบภูมิคุ้มกันผิดปกติ (autoimmune disorder) มีการทำลายตัวรับสาร สื่อประสาทอะซิติลโคลีน
สาเหตุ
สารอะซิติลโคลีน ไม่สามารถทำงานได้แม้ร่างกายจะหลั่งสารนี้ออกมาอย่างปกติ เนื่องจากโปรตีนตัวรับถูกทำลายโดย Abที่ร่างกายสร้างขึ้น
กรรมพันธุ์
สมอง(ฺBrain)
ประกอบด้วยเซลล์ประสาทประมาณ พันล้านเซลล์
มีกะโหลกศีรษะที่หนาและแข็งป้องกันอยู่
เป็นอวัยวะที่ใหญ่ที่สุดในร่างกาย
Cerebral edema
เกิดขึ้นกับสมองบางส่วนหรือทั่วทั้งสมอง จนทำให้สมองบวมและมีความดันในกะโหลกศีรษะเพิ่มขึ้น
แบ่งได้ 3 ชนิด
2. Cytotoxic edema / Cellular edema
เป็นการบวมของของเหลวในสมอง
เกิดภาวะน้ำเป็นพิษ
3.Hydrostatic edema
มีการบวมของโพรงสมองจากแรงกดดันในภาสะน้ำคั่งในสมอง (Hydrocephalus)
ภาวะที่ CSF คั่งในกะโหลกมากผิดปกติร่วมกับการมีความดันในกะโหลกศีรษะเพิ่มขึ้น
เกิดจากการคั่งของ Cerebrospinal fluid จากการอุดตันหรือการสร้างมากกว่าดูดซึมกลับ
ความผิดปกติแต่กำเนิด(Congenital anomaly
หรืออาจเกิดจากสาเหตุอื่นๆ
บาดเจ็บที่ศีรษะ (Traumatic brain injury)
โรคหลอดเลือดสมอง (CVA)
การติดเชื้อ (CNS infection)
เนื้องอกสมอง (Brain tumor)
1. Vasogenic edema
สาเหตุเกิดจากเนื้องอก เซลล์ขาดเลือดเป็นระยะเวลานานและการติดเชื้อ
เป็นภาวะที่มีของเหลวส่วนเกินสะสมในสมอง
ภาวะความดันในกะโหลกศีรษะสูง
Increased Intracranial Pressure (IICP)
เป็นผลมาจากการมีความพร่องของสมดุจระหว่าง ปริมาตรและความดันภายในกะโหลกศีรษะ
การบาดเจ็บที่ศีรษะ
การบาดเจ็บที่หนังศีรษะ (scalp injury)
ทำให้เกิดการฟกช้ำ (Contusion)
ไม่ทำให้เกิดความพิการทางสมอง เว้นแต่ จะเสียเลือดมาก
เกิดจากแรงกระแทกโดยตรง
การบาดเจ็บที่กะโหลกศีรษะ (skull fracture)
เกิดจากการกระแทก
เกิดการแตกของกะโหลก
3.Skull base fracture
ฐานกะโหลกศีรษะแตก
-Massive bleeding เนื่องจากเลือดออกจากบริเวณที่กะโหลกแตก เลือดมักออกจาก จมูกและหู
-Cerebrospinal fluid (CSF) leakage เกิดการฉีดขาดของเยื่อหุ้มสมอง CSF เลยรั่วออกมา
-Cranial nerve (CN) injury โดยถ้าฐานกะโหลกด้านหน้าแตก CN ที่พบบาดเจ็บได้แก่ CN II หรือ III ถ้าด้านหลังแตก คือ CN VII และ CN VIII
2. Depressed Fracture
พบในเด็กอายุน้อยกว่า 1 ปีกะโหลกแตก แต่ Periosteum ไม่ฉีกขาด
1. Linear Fracture
ลักษณะเป็นเส้นตรง ยังคงรูปร่างเดิม
การบาดเจ็บที่สมองและหลอดเลือดสมอง
Cerebral Hemorrhage
เป็นภาวะที่มีเลือดออกในสมอง
เกิดจากหลอดเลือดในสมอง
ฺ
สาเหตุ
ความดันโลหิตสูง
อุบัติเหตุที่ศีรษะ
Cerebral concussion
คือการที่สมองเสียหน้าที่ไปชั่วครู่ จากการกระทบภายนอก
(Cerebral Hypoxia)
สมองขาดออกซิเจน
อาการที่สมองได้รับออกซิเจนไม่เพียงพอต่อความต้องการ
เกิดผลกระทบต่อร่างกาย เช่น อาการหายใจสั้นและถี่ความจ าเสื่อมชั่วคราว ชัก หรืออาจหมดสติได้
อาจสร้างความเสียหายต่อสมองจนถึงขั้นสมองตายและทำให้เสียชีวิตได้
Cerebral ischemia
คือการที่สมองขาดเลือดชั่วขณะ
สาเหตุ
เกิดจากเลือดไม่สามารถไปเลี้ยงสมองได้ชั่วขณะทำให้มีอาการคล้ายโรคหลอดเลือดสมอง
ภาวะนี้อาจเป็ นสัญญาณเตือนก่อนเส้นเลือดในสมองแตกหรือตีบตันได้
(stroke)
โรคหลอดเลือดสมอง
ภาวะที่สมองขาดเลือดไปเลี้ยงเนื่องจากหลอดเลือดตีบหรออุดตันและหลอดเลือดแตก จึงทำให้เยื่อสมองถูกทำลาย การทำงานจึงหยุดชะงักลง
ความผิดปกติของหลอดเลือดสมอง
(ischemic stroke)
หลอดเลือดสมองตีบ/อุดตัน
ส่วนใหญ่เกิดจากหลอดเลือดสมองอุดตันจากลิ่มเลือด
สาเหตุ
เกิดจากการสะสมของไขมันในหลอดเลือด
(hemorrhagic stroke)
หลอดเลือดสมองปริแตกหรือฉีกขาด
เกิดจากความดันโลหิตสูงทำให้เลือดโป่งพองและแตกออก
สาเหตุ
หลอดเลือดสูญเสียความยืดหยุ่นจากการสะสมของไขมันหลอดเลือด
เลือดไปเลี้ยงสมองน้อยลงจึงทำให้เกิดเลือดออกในสมอง
ปัจจัยเสี่ยงของโรคหลอดเลือดสมอง
ปัจจัยเสี่ยงที่ป้องกันไม่ได้
อายุมากขึ้น
เพศโดยเพศชายเสี่ยงเป็นมากกว่าผู้หญิง
ภาวะการแข็งตัวของเลือดเร็วกว่าปกติ
ปัจจัยเสี่ยงที่ป้ องกันได้
โรคเบาหวาน
ความดันโลหิตสูง
ไขมันในเลือดสูง
โรคหัวใจ
การสูบบุหรี่
Bell’s palsy
(ใบหน้าเบี้ยวครึ่งซีก)
กล้ามเนื้อใบหน้าข้างหนึ่งอ่อนแรงชั่วคราวทำให้เกิด อาการ หลับตาไม่สนิท ลืมตาไม่สุด มุมปากตก ปากเบี้ยว
สาเหตุ
การได้รับอุบัติเหตุที่เส้นประสาท
เนื้องอก
การติดเชื้อ(พบบ่อยที่สุด)
การอักเสบและการติดเชื้อ
Brain abscess
Tuberculosis
Acute purulent meningitis
Syphilis
Brain abscess
(ฝีในสมอง)
Epidural Abscess
Subdural Abscess
Brain abscess
Spinal Cord Injury
(บาดเจ็บไขสันหลัง)
การบาดเจ็บของไขสันหลังจนถึงรากประสาทที่อยู่ในโพรงกระดูกสันหลัง
ทำให้เกิดการบวมของไขสันหลังเกิดจากการอุดกั้นของเส้นเลือดไปเลี้ยงสมอง