Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะอาเจียนรุนแรงในระยะตั้งครรภ์ (Hyperemesis gravidarum) - Coggle Diagram
ภาวะอาเจียนรุนแรงในระยะตั้งครรภ์
(Hyperemesis gravidarum)
สาเหตุ
ปัจจัยด้านมารดา
การหลั่ง Hydrocholic acid ในกระเพาะอาหารลดลง
ตับอักเสบ (Pancreatitis)
ความเป็นพิษของยา (Drug toxicity)
โรคเกี่ยวกับท่อทางเดินนํ้าดี (Bilinary tract disease)
การขาดวิตามิน (Vitamin deficiency) โดยเฉพาะวิตามิน บี 6
การเคลื่อนไหวของกระเพาะอาหารลดลง ((Decreased motility )
สาเหตุจากด้านจิตใจ
Ambivalance,ความวิตกกังวลต่อบทบาท
การอักเสบของลำไส้ (Imflamation obstructive bowel disease)
ความไม่สมดุลของระดับฮอร์โมน
Estrogen, Human chorionic gonadotrophin (HCG) ที่มีปริมาณมากเกินไป
ภาวะ hyperthyroidism
hydatidiform moles
การตั้งครรภ์แฝด
มีภาวะ Transient hyperthyroid พยาธิสภาพ
ปัจจัยด้านทารก
ทารกมีความผิดปกติเกี่ยวกับโครโมโซม triploidy, trisomy 21
ทารกบวมน้ำ (hydrops fetalis)
การวินิจฉัย
การตรวจร่างกาย
รายที่มีอาการรุนแรง
ปากและฟันสกปรก
ลมหายใจมีกลิ่นเหม็น
นํ้าหนักลด ผิวหนังแห้ง ลิ้นเป็นฝ้า ริมฝีปากแห้งแตก
ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจเลือด
โซเดียม โปแตสเชียม คลอไรด์ ลดลง
Hct. 1 SGOT, LFT, BUN สูงขึ้น
การตรวจปัสสาวะ
ความถ่วงจำเพาะสูง, albumin เพิ่มขึ้น, ketonuria, ถ้าอาการรุนแรงมาก อาจพบน้ำดีในปัสสาวะได้
การตรวจพิเศษ
U/S, amniocentesis
Twin pregnancy, molar pregnancy, trisomy21, hydrops fetalis
ซักประวัติการตั้งครรภ์
มีอาการกระหายนํ้า
ปัสสาวะออกน้อย
น้ำหนักลด
ปวดศีรษะ
อาการคลื่นไส้ อาเจียน อย่างรุนแรงภายใน 12 สัปดาห์แรกรือยาวนานมากกว่า 12 สัปดาห์ขึ้นไป
อาการและอาการแสดง
อาการรุนแรงปานกลาง
อ่อนเพลีย ไม่สามารถทำกิจวัตรประจำวันได้
น้ำหนักตัวลด มีอาการขาดสารอาหาร
อาเจียนติดต่อกันไม่หยุดภายใน 2-4 สัปดาห์
มีภาวะเลือดเป็นกรด (Acidosis)
อาเจียนติดต่อกัน 5-10 ครั้งต่อวัน
อาการรุนแรงมาก
อาเจียนทันทีภายหลังรับประทาน และอาเจียนติดต่อกันเกิน 4 สัปดาห์
อ่อนเพลีย ซูบผอม น้ำหนักตัวลดมาก
อาเจียนมากกว่า 10 ครั้งต่อวัน ไม่สามารถทำกิจวัตรประจำวันได้
เกิดการขาดสารอาหารอย่างรุนแรง
ผิวหนังแห้ง ไม่ยืดหยุ่น ปากแห้ง ลิ้นเป็นฝ้าขาว หนา แตก
ตาลึก ขุ่น มองภาพไม่ชัดเจน
ปัสสาวะขุ่น และออกน้อย
ตัวเหลือง ท้องผูก มีไข้ ความดันโลหิตลดลง
อาการไม่รุนแรง
ลักษณะอาเจียนไม่มีนํ้าหรือเศษอาหาร
นํ้าหนักตัวลดเล็กน้อย แต่ไม่มีอาการขาดสารอาหาร
อาเจียนน้อยกว่า 5 ครั้งต่อวัน สามารถทำงานได้ตามปกติ
สามารถทำกิจวัตรประจำวันได้
ผลกระทบต่อการตั้งครรภ์
มารดา
Ketoacidosis การสูญเสียด่างในน้ำย่อยไปกับการอาเจียน
กระสับกระส่าย เพ้อจำไม่ได้ ไม่รู้สึกตัว หมดสติ (Korsakoff’s syndrome)
ภาวะขาดสารอาหารอย่างรุนแรง (Nutrition deplement) และขาดวิตามิน (Hypovitaminosis)โดยเฉพาะ
วิตามินซีและวิตามินบีรวม
Electrolye imbalance
กล้ามเนื้อแขนขาอ่อนแรง
เกิดปัญหาทางด้านร่างกายจากการรักษาใน รพ.นาน
อาหารไม่ย่อย ปวดแสบกระเพาะอาหาร
แบบแผนการนอนหลับเปลี่ยนแปลง
รู้สึกเบื่อ ซึมเศร้า วิตกกังวล
Dehydration
อุณหภูมิร่างกายสูงขึ้น ชีพจรเบาเร็ว และความดันโลหิตตํ่า ผิวหนังแห้ง อ่อนเพลีย ปัสสาวะออกน้อยและขุ่น
ทารกในครรภ์
ทารกพิการ (Fetal anomalies)
แท้ง (Abortion) และคลอดก่อนกำหนด (Preterm delivery)
ทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์ (Intrauterine Growth Retardation IUGR)
ทารกเสียชีวิต (Fetal death) เนื่องจากการเสียสมดุลของอิเลคโตรไลท์เป็นเวลานาน
แนวทางการรักษา
ระยะที่มีอาการรุนแรงปานกลาง
ให้รับยาแก้อาเจียน
Promethazine 12.5–25 mg IM q 4-5 hr.
อาการดีขึ้นเปลี่ยนเป็น oral med.
Metoclopramide 5-10 mg. IM q 6-8 hr.
ได้รับอาหารทดแทนการสูญเสียเกลือแร่ อาหารที่มี K และ Mg
ระยะที่มีอาการรุนแรง
แก้ไขภาวะขาดน้ำ ความไม่สมดุลของเกลือแร่ และความเป็นกรด-ด่างของเลือด
5% D/NSS 1,000 ml. IV
NPO
parenteral nutrition therapy ให้ได้แคลอรี่มากกว่า 2,000 แคลอรี่/วัน ซึ่งต้องมีกรดอะมิโน ไขมัน วิตามิน และเกลือแร่ ทาง central venous access หรือ subclavian vein
Vitaminไม่เกิน 200 mg/d
ระยะที่มีอาการไม่รุนแรง
แนะนำให้ได้รับอาหารทดแทนการสูญเสียเกลือแร่ อาหารที่มี K และ Mg
อาหารที่มีโปแตสเชียม
ผักใบเขียว
กล้วยหอม แคนตาลูป ฝรั่ง ส้ม แอบเปิ้ล
นํ้าผลไม้ นํ้าหวาน
อาหารที่ มีแมกนีเซียม
ผักทุกชนิด และชั่วชนิดต่างๆ
การป้องกัน
หลีกเลี่ยงอาหารที่มีไขมัน หรืออาการที่มีน้ำมันมาก
หลังรับประมาณไม่ควรเอนหลับทันที ควรลุกทำกิจกรรมต่างๆ
ดื่มนํ้าซุปหรือน้ำผลไม้ระหว่างมื้ออาหาร แนะนำน้ำอุ่นกับน้ำขิง
รับประทานอาหารที่ย่อยง่าย ก่อนเข้านอนหรือระหว่างกลางคืน เช่น ผลไม้โยเกิร์ต นมเปรี้ยว ขนมปัง
รับประทานอาหารโปรตีนที่มีไขมันน้อย
เนื้อปลา เนื้อสัน และอาหารประเภท คาร์โบไฮเดรทที่ง่ายต่อการย่อย เช่นข้าวขนมปัง ผลไม้น้ำผลไม้อาหารที่มีวิตามินบี
หลังตื่นนอนตอนเช้า ถ้ามีอาการคลื่นไล้ ควรรับประทานอาหารอ่อนย่อยง่ายทันที เช่น ขนมปังกรอบ ข้าวต้ม โจ๊ก
รับประทานอาหารน้อยแต่บ่อยครั้งประมาณทุก 2-3 ชั่วโมง
ควรนอนหลับและพักผ่อนอย่างเพียงพอ การตื่นนอนตอนเช้าควรค่อยๆ ลุกจากเตียงไม่ควรลุกขึ้นทันทีทันใด
การพยาบาล
รับการรักษาในโรงพยาบาล
แนะนำให้คู่สมรสหรือบุคคลในครอบครัวมีส่วนร่วมในการดูแลช่วยเหลือสตรีตั้งครรภ์อย่างใกล้ชิด
หลีกเลี่ยงสิ่งที่อาจก่อให้เกิดความเครียด
ติดตามชั่งน้ำหนัก เพื่อประเมินว่าได้รับสารน้ำและสารอาหารเพียงพอหรือไม่
รับประทานอาหารมื้อละน้อยแต่บ่อยครั้ง งดอาหารไขมัน
จัดสิ่งแวดล้อมให้สะอาด เงียบสงบ เหมาะแก่การพักผ่อน
บันทึก I&O โดยเฉพาะ urine output ไม่ควรน้อยกว่า 1,000 ml. /d
ให้ได้รับสารน้ำทางหลอดเลือดดำและยาลดอาการคลื่นไส้อาเจียน ตามแผนการรักษา
ดูแลความสะอาดของช่องปากและฟัน
หลีกเลี่ยงสิ่งที่จะกระตุ้นให้เกิดอาการคลื่นไส้อาเจียน
(Nothing Per Oral: NPO) อย่างน้อย 24-48 ชั่วโมง
เมื่อกลับไปอยู่บ้าน
แนะนำให้พักผ่อนอย่างเพียงพอ
แนะนำการออกกำลังกายหรือกายบริหารเบาๆ อย่างสม่ำเสมอ
ควรดื่มน้ำ หรือเครื่องดื่มระหว่างมื้ออาหาร เพื่อป้องกันภาวะสูญเสียน้ำ
แนะนำให้หลีกเลี่ยงสิ่งกระตุ้นให้เกิดความเครียด ทำจิตใจให้สบาย
แนะนำให้ดื่มน้ำอุ่นทันที่ตื่นนอน
อธิบายให้คู่สมรสและครอบครัวเข้าใจถึงภาวะที่เกิดขึ้น และควรให้การช่วยเหลือสตรีตั้งครรภ์อย่างใกล้ชิด
แนะนำการรับประทานอาหาร ทานอาหารครั้งละน้อยแต่บ่อยครั้ง เป็นอาหารที่ย่อยง่าย หรือมีโปรตีนสูง
แนะนำให้เห็นความสำคัญของการมาตรวจตามนัดอย่างสม่ำเสมอ และสังเกตอาการผิดปกติที่ควรมาพบแพทย์ก่อนวันนัด
รับการรักษาแบบผู้ป่วยนอก
แนะนำให้รับประทานผลไม้
รับประทานยาแก้อาเจียนตามแผนการรักษาก่อนอาหารประมาณ 30 นาที
แนะนำให้รับประทานอาหารประเภทคาร์โบไฮเดรตเชิงเดี่ยว เพื่อให้ร่างกายได้รบพลังงานอย่างเพียงพอ
สอนวิธีการประเมินโภชนาการ การคำนวณ พลังงานที่ได้รับจากอาหารที่บริโภค และการชั่งน้ำหนัก
รับประทานอาหารแข็งที่ย่อยง่าย
ปรับแบบแผนการรับประทานอาหาร 2,000 กิโลแคลอรี่ต่อวัน
แนะนำให้จิบเครื่องดื่มอุ่นๆ
เปิดโอกาสให้สตรีตั้งครรภ์ได้พูดถึงปัญหา
แนะนำวิธีการป้องกันอาการคลื่นไส้อาเจียน
abdominal pain, dehydration หรือน้ำหนักลดลงอย่างมากรีบมาพบแพทย์
อธิบายให้สตรีตั้งครรภ์เข้าใจถึงสาเหตุของการเกิดภาวะอาเจียนรุนแรง และภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้น