Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
3.2 การพยาบาลผู้ป่วยวิกฤตในระบบหัวใจและการไหลเวียนโลหิต, นางสาวพรพิมล…
3.2 การพยาบาลผู้ป่วยวิกฤตในระบบหัวใจและการไหลเวียนโลหิต
ภาวะความดันโลหิตสูงวิกฤต (hypertension crisis)
สาเหตุ
การหยุดยาลดความดันโลหิตทันที
Exacerbation of chronic hyprtension
Acute or chronic renal disease
การใช้ยาบางชนิดทำให้ความดันโลหิตสูง
ยาคุมกำเนิด
อาการ
ปวดศีรษะ การมองเห็นผิดปกติ สับสน คลื่นไส้ อาเจียน
การซักประวัติ
โรคประจำตัว
ความดันโลหิตสูง
ความสม่ำเสมอในการรับประทานยา
ผลข้างเคียงยา
การสูบบุหรี่
โรคอื่นๆที่เป็นสาเหตุของความดันสูง
ต่อมหมวกไต
ไทรอยด์เป็นพิษ
ระบบหัวใจและหลอดเลือด
เจ็บหน้าอก เหนื่อยง่าย เเน่นอกเวลาออกแรง ไตวายเฉียบพลัน
การตรวจร่างกาย
วัดสัญญาณชีพ
น้ำหนัก ส่วนสูง ดัชนีมวลกาย เส้นรอบเอว
ตรวจหาความผิดปกติที่เกิดจาก TOD
ตรวจพิเศษ
CBC,creatinine,glomerular filtration rate,ค่าอัลบูมินในปัสสาวะ,12-lead ECG,chest x-ray
การรักษา
รักษาทันทีใน ICU และให้ยาลดความดันโลหิตชนิดฉีดเช้า
หลอดเลือดดำ
sodium nitroprusside, nicardipine, nitroglycerin, labetalol
การพยาบาล
ในระยะเฉียบพลันเฝ้าติตตามอย่างใกล้ชิดเกี่ยวกับอาการและอาการแสดงของระบบต่างๆ
ในระหว่างได้รับยา ประเมินและบันทึกการตอบสนองต่อยาโดยติดตามความดันโลหิตอย่างใกล้ชิด
รักษาด้วย short-acting intravenous antihypertensive agents ได้เเก่ sodium nitroprusside เริ่มให้ขนาด 0.3-0.5 mcgkg/min และเพิ่มครั้งละ 0.5 mcg/kg/minทุก 2-3 นาที จนสามารถคุมความตันโลหิตได้
ช่วยเหลือผู้ป่วยในการทำกิจกรรม
ให้ความรู้/ข้อมูลแก่ผู้ป่วยเกี่ยวกับวัตถุประสงค์ของการรักษาเพื่อควบคุมความดันโลหิต
ภาวะหัวใจล้มเหลวเฉียบพลัน (Aute Heart Failure)
สาเหตุ
โรคหลอดเลือดหัวใจเฉียบพลัน
ภาวะหัวใจเต้นผิดปกติ ภาวะหัวใจวาย
โรคหัวใจใดๆที่ทรุดลงตามการดำเนินโรค
กล้ามเนื้อหัวใจอ่อนแรงจากความผิดปกติอื่นๆ
อาการ
หายใจเหนื่อยหอบ นอนราบไม่ได้ อ่อนเพลีย บวมตามแขนขา ความดันโลหิตปกติหรือ ต่ำ/สูง
การรักษา
การลดการทำงานของหัวใจ
การดึงน้ำและเกสื่อแร่ที่คั่งออกจากร่างกาย
การใช้ยา
รักษาสาเหตุ
การพยาบาล
การลดการทำงานของหัวใจ และส่งเสริมการไหลเวียนเลือดไปยังเซลล์ให้ได้รับออกชิเจนอย่างเพียงพอ
การประเมินสภาพ
ซักประวัติและตรวจร่างกาย
อาการเจ็บหน้าอก
อาการหอบเหนื่อย
ตรวจทางห้องปฏิบัติการ
CBC
biochemical cardiac markers
ABG
ตรวจพิเศษ
CXR, echocardiogram, CT, coronary artery angiography (CAG)
ภาวะหัวใจเต้นผิดปกติ (Cardiac arrhythmias: Sustained AF,VT,VF)
Ventricular tachycardia (VT)
ประเภท
Nonsustained VT
ต่อเนื่องกันเป็นเวลาน้อยกว่า 30วินาที
Sustained VT
ต่อเนื่องกันเป็นเวลานานกว่า 30วินาที
Monomorphic VT
QRS complex เป็นรูปแบบเดียว
Polymorphic VT
QRS complex เป็นรูปแบบต่างกัน
สาเหตุ
Myocardial infarction โรคหัวใจรูห์มาติก ถูกไฟฟ้าดูต ภาวะโพแทสเซียมในเลือตต่ำ พิษจากยาติจิทัสลิส กล้ามเนื้อหัวใจถูกกระตุ้นจากการตรวจสวนหัวใจ
อาการ
ใจสั่น ความตันโลหิตต่ำ หน้ามืด เจ็บหน้าอก หายใจลำบาก หัวใจหยุดเต้น
Atrial fibrillation (AF)
ประเภท
Permanent AF
เป็นนานติดต่อกันกว่า 1 ปีโดยไม่เคยรักษา
Recurrent AF
เกิดซ้ำมากกว่า 1 ครั้ง
Persistent AF
ไม่หายได้เองภายใน 7 วัน หรือหายได้ด้วยการรักษาด้วยยา
Lone AF
อายุน้อยกว่า 60 ปี ที่ไม่มีความผิดปกติของหัวใจ โรคความดันโลหิตสูง
Paroxysmal AF
หายได้เองภายใน 7 วันโดยไม่ต้องใช้ยา
สาเหตุ
ผู้ป่วยที่เป็นโรคหัวใจขาดเลือด โรคหัวใจรูห์มาติก ภาวะหัวใจล้มเหลว ความดันโลหิตสูง
เยื่อหุ้มหัวใจอักเสบ ผู้ป่วยหลังผ่าตัดหัวใจ
อาการ
ใจสั่น อ่อนเพสีย เหนื่อยเวลาออกแรง คลำชีพจรที่ข้อมือได้เบา
การพยาบาล
สิ่งที่ต้องคำนึงคือ อัตราการเต้นของ ventricle ถ้าเต้นเร็วเกินไปจะทำให้ ระยะเวลาการคลายตัวเพื่อรับเลือตของ ventricle ลดลง ทำให้อัตราการเต้นของ venticle ช้าเกินไป
Ventricular fibrillation (VF)
สาเหตุ
Hypovolemia
Hypoxia
Hydrogen ion (acidosis)
Hypokalernia
Hyperkalemia
Hypothermia
Tension pneumothorax
Cardiac tamponade
Toxins
Pulmonary thrombosis
Coronary thrombosis
อาการ
หมดสติ ไม่มีชีพจร รู้ม่านตาขยาย
การพยาบาล
ทำ CPR ทันที
ภาวะช็อก (Shock)
ระยะ
ภาวะช็อกที่ไม่สามารถชดเชยได้
ภาวะช็อกที่สามารถชดเชยได้ในระยะท้าย
ภาวะช็อกที่สามารถชดเชยได้ในระยะแรก
ประเภท
ภาวะช็อกจากภาวะหัวใจล้มเหลว (Cardiogenic shock)
ภาวะช็อกจากการอุดกั้นการไหลเวียนของเลือดเข้าสู่หัวใจ (Obstructive shock)
1.ภาระช็อกจากการขาดสารน้ำ (Hypovolemic shock)
มากกว่า 30-40% ของปริมาตรเลือด
ภาวะช็อกจากหลอดเลือดมีการขยายตัว
ภาวะช็อกจากการแพ้ (Anaphylactic shock)
ภาวะช็อกจากการทำงานผิดปกติของต่อมหมวกไต (Hypoadrenal / adrenocortical shock)
ภาวะช็อกจากการติดเชื้อ (Septic shock)
ภาวะช็อกจากความผิดปกติของระบบประสาท (Neurogenic shock)
อาการ
บกพร่องของการไหลเวียนโลหิต เนื้อเยื่อต่างๆได้รับออกซิเจนไม่เพียงพอ ร่วมกับมีภาวะความต้นโลหิตต่ำ
การรักษา
แก้ไขระบบไหลเวียนโลหิตให้ได้ปริมาณเลือตที่ออกจากหัวใจต่อนาที่เพียงพอ
การให้สารน้ำ
Crystalloid solution
การให้ยา
ที่มีผลต่อการบีบตัวของหัวใจ และการหดตัวของหลอตเลือด
แก้ไขภาวะพร่องออกซิเจนของเนื้อเยื่อและการลตการใช้ออกซิเจน
เฉพาะเจาะจงตามสาเหตุ
แก้ไขความผิตปกติของภาวะกรดด่าง
การประเมินสภาพ
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
CBC, BUN, Cr, electrolyte, lactic acid, arterial blood gas, coagulation, specimens culture
การตรวจพิเศษ
x-ray, CT. echocardiogram, ultrasound.
การตรวจร่างกาย
ประมินระดับความรู้สึกตัว
ประเมินทางเตินหายใจ
ซักประวัติ เพื่อหาสาเหตุของภาวะช็อกที่เกิดจากการเจ็บป่วย
นางสาวพรพิมล อุตมติง 6101210712 Sec B