Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
3.2 การพยาบาลผู้ป่วยวิกฤตในระบบหัวใจและการไหลเวียนโลหิต - Coggle Diagram
3.2 การพยาบาลผู้ป่วยวิกฤตในระบบหัวใจและการไหลเวียนโลหิต
ภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ (Cardiac arrhythmias)
ภาวะหัวใจห้องบนเต้นสั่นพริ้ว (AF)
ประเภทของ AF
Paroxysmal AF
หายได้เองภายใน 7 วัน
ไม่ต้องใช้ยาหรือช็อคไฟฟ้า
Persistent AF
ไม่หายได้เองภายใน 7วัน
หายด้วยการรักษาด้วยยาหรือช็อคไฟฟ้า
Permanent AF
เป็นนานติดต่อการกว่า 1 ปี
ไม่เคยรักษาหรือเคยรักษาแต่ไม่หาย
Recurrent AF
เกิดซ้ำมากกว่า 1 ครั้ง
Lone AF
ผู้ป่วยอายุน้อยกว่า 60 ปี
ไม่มีความผิดปกติของหัวใจ โรคความดันโลหิตสูง
สาเหตุ
ผู้ป่วยที่เป็นโรคหัวใจขาดเลือด
โรคหัวใจรูห์มาติก
ภาวะหัวใจล้มเหลว
ความดันโลหิตสูง
เยื่อหุ้มหัวใจอักเสบ
ผู้ป่วยหลังผ่าตัดหัวใจ
hyperthyrodism
การพยาบาล
1.ประเมินการเปลี่ยนแปลงของสัญญาณชีพและคลื่นไฟฟ้าหัวใจอย่างต่อเนื่อง
2.สังเกตอาการและอาการแสดงของการเกิดลิ่มเลือดอุดตัน สมอง ปอด แขนและขา
3.ดูแลให้ได้รับยาควบคุมการเต้นของหัวใจ
digoxin
calcium channel blockers
beta-blocker
amiodarone
4.ดูแลให้ได้รับยาต้านการแข็งตัวของเลือดตามแผนการรักษาในผู้ที่มีลิ่มเลือดเกิดขึ้น
6.เตรียมผู้ป่วยในการจี้ด้วยคลื่นไฟฟ้าความถี่สูง ในผู้ที่เป็น AF และไม่สามารถควบคุมด้วยยาได้
5.เตรียมผู้ป่วยและอุปกรณ์ในการทำ Cardioversion เพื่อให้หัวใจกลับมาเต้นในจังหวะปกติ
อาการและอาการแสดง
อ่อนเพลีย
เหนื่อยเวลาออกแรง
ใจสั่น
คลำชีพจรที่ข้อมือได้เบา
Ventricular tachycardia (VT)
ประเภทของ VT
Monomorphic VT
QRS complex เป็นรูปแบบเดียว
Sustained VT
ต่อเนื่องกันเป็นเวลานานกว่า 30 วินาที
Polymorphic VT
QRS complex เป็นรูปแบบต่างกัน
Nonsustained VT
เกิดต่อเนื่องกันเป็นเวลา 30 วินาที
การพยาบาล
1.นำเครื่อง Defibrillator มาที่เตียงผู้ป่วย รายงานแพทย์ทันที และเปิดหลอดเลือดดำ
2.คลำชีพจร ประเมินสัญญาณชีพ ระดับความรู้สึกตัว เจ็บหน้าอก ภาวะเขียว จำนวนปัสสาวะ
3.ร่วมกับแพทย์ในการดูแลให้ได้รับยาและแก้ไขสาเหตุหัวใจเต้นผิดจังหวะ
5.หากคลำชีพจรไม่ได้ ให้เตรียมเครื่อง Defibrillator ให้แพทย์ทำการช็อคไฟฟ้าหัวใจ
4.เตรียมผู้ป่วยในการทำ synchronized cardioversion
6.ทำ CPR ถ้าหัวใจหยุดเต้น
สาเหตุ
Myocardial infarction
Rheumatic heart disease
โพแทสเซียมในเลือดต่ำ
Digitalis toxicity
ถูกไฟฟ้าดูด
กล้ามเนื้อหัวใจถูกกระตุ้นจากการสวนหัวใจ
อาการและอาการแสดง
อาการเกิดทันที
ใจสั่น
หน้ามืด
BP ต่ำ
หายใจลำบาก
หัวใจหยุดเต้น
เจ็บหน้าอก
Ventricular fibrillation (VF)
สาเหตุ
Hypothemia
Tension pneumothorax
Hyperkalemia
Cardiac tamponade
Hypokalemia
Toxins
Hydrogen ion (acidosis)
Pulmonary thrombosis
Hypoxia
Hypovolemia
Coronary thrombosis
อาการและอาการแสดง
อาการเกิดขึ้ทันที
หมดสติ
ไม่มีชีพจร
รูม่านตาขยาย
เสียชีวิต
การพยาบาล
ติดตามและบันทึกอาการแสดงของภาวะ tissue perfusion ลดลง
ติดตามและบันทึกการเปลี่ยนแปลงของสัญญาณชีพ คลื่นไฟฟ้าหัวใจ
ติดตามผลข้างเคียงของยาที่ใช้ในการรักษา
ให้ยา antidysrhythmia
ติดตามค่าเกลือแร่ในเลือด
ทำ CPR ร่วมกับทีมรักษาผู้ป่วย
ป้องกันภาวะ tissue hypoxia
SpO2 น้อยกว่า 93% ในผู้ป่วยที่เป็น Stroke หรือ Acute MI
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
ปริมาณเลือดออกจากหัวใจในหนึ่งนาทีลดลง เนื่องจากความผิดปกติของอัตรา และจังหวะการเต้นของหัวใจ
ภาวะความดันโลหิตสูงวิกฤต (Hypertensive crisis)
คำศัพท์สำคัญที่เกี่ยวข้องกับความดันโลหิตสูง
ความดันโลหิตสูง (Hypertension)
ค่า Systolic ตั้งแต่ 140 mmHg
ค่า Diastolic 90 mmHg
Hypertensive emergency
BP สูงเฉียบพลันสูงกว่า 180/120 mmHg
ร่วมกับ TOD (Acute MI, Stroke และ Kidney failure)
Target organ damage (TOD)
ความผิดปกติที่เกิดแก่อวัยวะในร่างกายจากความดันโลหิตสูง
หัวใจ ตา ไต
Cardiovascular disease (CVD)
โรคทางระบบหัวใจและหลอดเลือด
โรคหลอดเลือดสมอง
โรคหัวใจล้มเหลว
โรคหลอดเลือดหัวใจโคโรนารี่
โรคของหลอดเลือดแดงส่วนปลาย
Hypertensive urgency
ภาวะความดันโลหิตสูงรุนแรง แต่ไม่มีอาการของ TOD
สาเหตุ
การหยุดยาลดความดันโลหิตทันที
Acute or chronic renal disease
Exacerbation of chronic hypertension
การใช้ยาที่มีผลให้ความดันโลหิตสูง
ยาคุมกำเนิด
ยาต้านการอักเสบที่ไม่ใช่สเตียรอยด์
อาการและอาการแสดง
อาการจะขึ้นอยู่กับ vascular injury และ end organ damage
แบ่งตามระบบต่างๆ
Acute cardiovascular syndromes
Myocardial infarction
Hypertensive encephalopathy
การมองเห็นผิดปกติ
สับสน
ปวดศีรษะ
คลื่นไส้
อาเจียน
Unstable angina
Pulmonary edema
Aortic dissection
ซักประวัติ
โรคประจำตัว
โรคความดันโลหิตสูง
ความสม่ำเสมอในการรับประทานยา
ผลข้างเคียงยา
การสูบบุหรี่
ประวัติความดันโลหิตสูงที่เป็นในสมาชิก
ความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์
โรคที่เป็นสาเหตุของความดันโลหิตสูง
coarctation ของ aorta
renal artery stenosis
โรคของต่อมหมวกไต
โรคไทรอยด์เป็นพิษ
สอบถามอาการ TOD
โรคหลอดเลือดสมอง
ปวดศีรษะ
มองเห็นไม่ชัดหรือตามัวชั่วขณะ
ระดับความรู้สึกตัวผิดปกติ
หมดสติ
โรคระบบหัวใจและหลอดเลือด
เจ็บหน้าอก
เหนื่อยง่าย
แน่นอกเวลาออกแรง
ไตวายเฉียบพลัน
ปริมาณปัสสาวะลดลง
อาจไม่มีการขับถ่ายปัสสาวะ
การตรวจร่างกาย
วัดสัญญาณชีพ
BP เปรียบเทียบแขนซ้ายขวา
น้ำหนัก ส่วนสูง BMI เส้นรอบเอว
ตรวจหาความผิดปกติที่เกิดจาก TOD
โรคหลอดเลือดสมอง
แขนขาชาหรืออ่อนแรงครึ่งซีก
มองเห็นไม่ชัดหรือตามัวชั่วขณะ
ระดับความรู้สึกตัวผิดปกติ
หมดสติ
ตรวจจอประสาทตา
ถ้าพบ Papilledema
ประเมินภาวะ IICP
ตรวจ retina
ถ้าพบ cotton-wool spots and hemorrhages
มีการแตกของ retina blood vessels
retina nerves ถูกทำลาย
Chest pain
อาการของ acute coronary syndrome or aortic dissection
อาการของ Oliguria or azotemia (excess urea in blood)
ภาวะไตถูกทำลาย
การตรวจทางห้องปฏิบัติการและการตรวจพิเศษ
eGFR
chest X-ray
Cr
Albumin
ECG
การรักษา
ยาควรออกฤทธิ์เร็วและหมดฤทธิ์เร็วเมื่อหยุดยา
รักษาทันทีใน ICU
ให้ยาลดความดันชนิดฉีดเข้าหลอดเลือดดำ
ลดความดันโลหิตเฉลี่ย
ลงจากระดับเดิม 20-30% ใน 2 ชั่วโมงแรก
160/100 mmHg ใน 2-6 ชั่วโมง
ยาชนิดออกฤทธิ์สั้นไม่แนะนำให้ใช้ยา Nifedipine
ยา Sodium nitroprusside
ไม่แนะนำให้ใช้ในผู้ป่วยที่มีการทำงานของตับและไตบกพร่อง
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
เสี่ยงต่อเลือดไปเลี้ยงเนื้อเยื่อไม่เพียงพอ
วิตกกังวล
เสี่ยงต่อเลือดไปเลี้ยงสมองไม่เพียงพอ
พร่องความรู้
การพยาบาล
ระยะเฉียบพลัน เฝ้าติดตามอาการอย่างใกล้ชิด
Neurologic symptoms
confusion
stupor
seizures
coma
stroke
Cardiac symtomp
aortic dissection
myocardial ischemia
dysrhythmias
Acute kidney failure
BUN สูง
ระหว่างได้รับยา
ติดตาม BP อย่างใกล้ชิด
โรคหัวใจและหลอดเลือด
ไม่ควรลด SBP ต่ำกว่า 120 mmHg
DBP ที่เหมาะสมคือ 70-79 mmHg
ผู้ป่วยที่มีสมองขาดเลือด+ความดันโลหิตสูงวิกฤต
ควบคุม BP ให้ต่ำกว่า 180/105 mmHg ใน 24 ชั่วโมงแรก
สังเกตอาการของภาวะเลือดไปเลี้ยงสมองลดลง
ปวดศีรษะ
คลื่นไส้
อาเจียน
ระดับความรู้สึกตัวลดลง
สับสน
ตรวจขนาดรูม่านตา
การเคลื่อนไหวของแขนขา
ประเมินการไหลเวียนโลหิตมาเลี้ยงเนื้อเยื่อส่วนปลาย
ชีพจร
Capillary refill
อุณหภูมิของผิวหนัง
ประเมินการไหลเวียนโลหิตมาเลี้ยงไต
I/O
BUN
Cr
รักษาด้วย short-acting intravenous antihypertensive agents
Sodium nitroprusside
เริ่มให้ 0.3-0.5 mcg/kg/min
เพิ่มครั้งละ 0.5 mcg/kg/min ทุก 2-3 นาที
ขนาดยาสูงสุดไม่เกิน 10 mcg/kg/min
ผสมใน D5W และ NSS
ติดตามอาการไม่พึงประสงค์
BP ต่ำอย่างรวดเร็ว
หัวใจเต้นช้า
ภาวะกรด
หลอดเลือดดำอักเสบ
หัวใจเต้นเร็ว
ความรู้สึกตัวเปลี่ยนแปลง
หายใจตื้นเร็ว
ชัก หมดสติ
ให้ความรู้/ข้อมูลเกี่ยวกับการรักษา
เหตุผลที่ต้องติดอุปกรณ์ที่ใช้เฝ้าระวังต่างๆ
หลังจากควบคุม BP ได้แล้ว
ให้ข้อมูลการปรับเปลี่ยนดำเนินชีวิต
ช่วยเหลือในการทำกิจกรรม
จัดท่านอนให้สุขสบาย
การปฏิบัติกิจวัตรประจำวันต่างๆ
การจัดสิ่งแวดล้อมให้สงบ
ปิดไฟหัวเตียง
ภาวะช็อก (Shock)
ความหมาย
เป็นภาวะที่ร่างกายเกิดความผิดปกติจากกลุ่มอาการต่างๆหรือความผิดปกติจากทางสรีรวิทยา เกิดการไหลเวียนโลหิตไปยังอวัยวะต่างๆไม่เพียงพอ ปริมาณออกซิเจนที่ส่งไปเลี้ยงเนื้อเยื่อไม่เพียงพอ เสียสมดุลของการเผาผลาญระดับเซลล์อวัยวะต่างๆขาดออกซิเจน และสูญเสียหน้าที่
ระยะช็อก
1.ภาวะช็อกที่สามารถชดเชยได้ในระยะแรก
2.ภาวะช็อกที่สามารถชดเชยได้ในระยะท้าย
ภาวะช็อกที่ไม่สามรถชดเชยได้
ประเภท
1.ภาวะช็อกจากการขาดสารน้ำ
2.ภาวะช็อกจากภาวะหัวใจล้มเหลว
3.ภาวะช็อกจากหลอดเลือดมีการขยายตัว
3.1ภาวะช็อกจากการติดเชื้อ
3.2ภาวะช็อกจากการแพ้
3.3ภาวะช็อกจากการทำงานผิดปกติของต่อมหมวกไต
4.ภาวะช็อกจากการอุดกั้นการไหลเวียนของเลือดสู่หัวใจ
5.ภาวะช็อกจากความผิดปกติของระบบประสาท
อาการและอาการแสดง
ประสาทส่วนกลาง
กระสับกระส่าย ซึม หมดสติ เซลล์สมองตาย
หัวใจและหลอดเลือด
ชีพจรเบาเร็ว หัวใจเต้นผิดจังหวะ กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด
ทางเดินอาหาร
กระเพาะอาหารและลำไส้ขาดเลือด ตับอ่อนอักเสบ ดีซ่าน ตับวาย
หายใจ
เร็วลึก ระดับออกซิเจนในเลือดต่ำ หายใจล้มเหลว
ต่อมไร้ท่อ
น้ำตาลในเลือดสูงหรือต่ำ ภาวะร่างกายเป็นกรด
ไตและการขับปัสสาวะ
ปัสสาวะออกน้อย
เลือดและภูมิคุมกัน
การแข็งตัวของเลือดผิดปกติ เม็ดเลือดขาวทำงานบกพร่อง
การรักษา
การแก้ไขภาวะพร่องออกซิเจนของเนื้อเยื่อและการลดการใช้ออกซิเจน
กาารักษาที่เฉพาะเจาะจงตามสาเหตุของภาวะช็อก
1.การแก้ไขระบบไหลเวียนโลหิตให้ได้ปริมาณเลือดที่ออกจากหัวใจต่อนาทีเพียงพอ
การให้สารน้ำ
การให้ยาที่มีผลต่อการบีบตัวของหัวใจ
การแก้ไขความผิดปกติของภาวะกรดด่าง
การประเมินสภาพ
การตรวจร่างกาย
ประเมินทางเดินหายใจ
การประเมินการไหลเวียนโลหิตและการทำงานของหัวใจ
ประเมินลักษณะและอัตราการหายใจ
ประเมินระดับความรู้สึก
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
CBC
BUN
Cr
electrolyte
lactic acid
arterial blood gas
coagulation
specimens culture
การซักประวัติ
ประวัติโรคหัวใจ
การสูญเสียสารน้ำ
การติดเชื้อ
การได้รับบาดเจ็บ อุบัติเหตุ
การใช้ยา
ประวัติการแพ้
การตรวจพิเศษ
X-ray
CT
echocardiogram
ultrasound
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
เสี่ยง/ภาวะเนื้อเยื่อพร่องออกซิเจน เนื่องจากปริมาณเลือดที่ออกจากหัวใจต่อนาทีลดลง
เสี่ยง/ปริมาณเลือดที่ออกจากหัวใจต่อนาทีลดลง เนื่องจาก การสูญเสียเลือดอุบัติเหตุ/การสูญเสียสารน้ำของร่างกาย/การบาดเจ็บของกระดูกสันหลังส่วนคอ/การเปลี่ยนแปลงของอัตราการเต้นและจังหวะของหัวใจผิด/กล้ามเนื้อหัวใจหดรัดตัวไม่เต็มที่
เสี่ยง/ การกำซาบเนื้อเยื่อไม่มีประสิทธิภาพ เนื่องจากปริมาณเลือดที่ออกจากหะวใจต่อนาทีลดลง
ผู้ป่วย/ครอบครัว มีภาวะวิตกกังวล เนื่องจากภาวะเจ็บป่วยวิกฤต/การทำหัตการในการรักษา/สภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลง
กิจกรรมการพยาบาล
1.การป้องกันเนื้อเยื่อขาดออกซิเจน
ประเมินภาวะขาดออกซิเจน
ดูแลทางเดินหายใจให้โล่ง
ดูแลให้ได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอ
2.การส่งเสริมการไหลเวียนโลหิตอย่างเพียงพอกับความต้องการของร่างกาย
ดูแลให้สารน้ำและอิเล็คโตรไลท์ทดแทน
ดูแลให้ยา
ดูแลจัดท่านอนหงายราบ ยกปลายเท้าสูง 20-30 องศา
ประเมินสัญญาณชีพ รวมถึงค่า MAP ทุก 1 ชั่วโมง
ติดตามค่า CVP
บันทึกปริมาณสารน้ำเข้าออกจากร่างกาย และติดตามปริมาณปัสสาวะทุก 1-2 ชั่วโมง
ติดตามการเปลี่ยนแปลงระดับความรู้สึกตัว
ดูแลให้ได้รับการช่วยเหลือโดยใช้อุปกรณ์พิเศษต่างๆ
4.ส่งเสริมการปรับตัวของผู้ป่วยและครอบครัวต่อภาวะวิกฤตที่เกิดขึ้น
3.การแก้ไขสาเหตุที่ทำให้เกิดภาวะช็อก
ภาวะหัวใจล้มเหลวเฉียบพลัน (Acute Heart Failure)
สาเหตุ
กล้ามเนื้อหัวใจอ่อนแรง
หลอดเลือดปอดอุดตันเฉียบพลัน
ภาวะความดันโลหิตสูงวิกฤต
ภาวะหัวใจเต้นผิดปกติ
โรคหลอดเลือดหัวใจเฉียบพลัน
ภาวะหัวใจวาย
อาการและอาการแสดง
กลุ่มอาการที่มีอาการแสดง
Pulmonary edema
Cardiogenic shock
Hypertensive acute heart failure
High out failure
Acute decompensated heart failure
Right heart failure
อาการที่พบบ่อย
หายใจเหนื่อยหอบ
BP ผิดปกติ
นอนราบไม่ได้
ท้องอืดโต แน่นท้อง
อ่อนเพลีย
หัวใจเต้นเร็ว หายใจเร็ว
บวมตามแขนขา
ฟังปอดได้ยินเสียง Crepitation
ความหมาย
การเกิดอาการและอาการแสดงของภาวะหัวใจล้มเหลวอย่างรวดเร็วจากการทำงานผิดปกติของหัวใจทั้งบีบตัวหรือคลายตัวของหัวใจ การเต้นของหัวใจผิดจังหวะหรือการเสียสมดุลของ Preload และ afterload
การรักษา
ลดการทำงานของหัวใจ
การดึงน้ำและเกลือแร่ที่คั่งออกจากร่างกาย
การใช้ยา
การประเมินสภาพ
ซักประวัติและตรวจร่างกาย
อาการเจ็บหน้าอก
หอบเหนื่อย
บวม
ตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
CBC
biochemical cardiac markers
ABG
การตรวจพิเศษ
CXR
echocardiogram
CT
CAG
ข้อวินิจฉัย
ได้รับอาหารและพลังงานไม่เพียงพอกับความต้องการของร่างกาย เนื่องจาก รับประทานอาหารได้น้อยจากการหอบเหนื่อย
เสี่ยง/ ภาวะเนื้อเยื่อพร่องออกซิเจน เนื่องจากปริมาณเลือดที่ออกจากหัวใจต่อนาทีลดลง
มีความต้องการพลังงานมากขึ้น เนื่องจากมีภาวะเจ็บป่วยวิกฤต/ หายใจเหนื่อยหอบ/ เบื่ออาหาร
เนื้อเยื่อได้รับออกซิเจนไปเลี้ยงไม่เพียงพอ เนื่องจากกล้ามเนื้อหัวใจหดรัดตัวไม่เต็มที่/ การเปลี่ยนแปลงของอัตราการเต้นและจังหวะของหัวใจ
กิจกรรมการพยาบาล
1.ลดการทำงานของหัวใจ
ลดควมต้องการใช้ออกซิเจนของร่างกาย
3.เพิ่มประสิทธิภาพการบีบตัวของกล้ามเนื้อหัวใจ
ดูแลให้กล้ามเนื้อหัวใจได้รับการไหลเวียยนเลือด
ดูแลการทำงานของเครื่องกระตุ้นจังหวะหัวใจ
4.ดูแลให้ได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอ
7.ดูแลให้ได้รับสารน้ำอย่างเพียงพอ
8.ดูแลให้ได้รับการตอบสนองตามความต้องการพื้นฐาน
9.ประเมินสัญญาณชีพทุก 1-2 ชั่วโมง
ดูแลติดตามบันทึกค่า CVP, PCWP
11.ติดตามผลทางห้องปฏิบัติการ