Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กรณีศึกษา : การจัดการสาธารณภัย, ประเมิน - Coggle Diagram
กรณีศึกษา : การจัดการสาธารณภัย
การทำหน้าที่เป็น Field Commander ชั่วคราว
การจอดรถ :
จอดรถในที่สังเกตเห็นได้ง่าย และเปิดสัญญาณไฟสีน้ำเงิน – แดง กรณีเหตุสาธารณภัยจอดในที่เป็นเนินสูงกว่าและอยู่เหนือลม ระยะห่างจากพื้นที่เกิดเหตุไม่น้อยกว่า 30 เมตร จอดหันหน้ารถพร้อมออกได้ทันที สามารถลงปฏิบัติงานได้สะดวก ใส่เบรกมือ ไม่จอดซ้อนคัน ล็อครถ ไม่ควรดับเครื่องยนต์เว้นกรณีจำเป็น
กั้นเขตการปฏิบัติงาน
เขตปฏิบัติการชั้นนอก เพื่อกั้นประชาชนโดยรอบและผู้ที่ไม่เกี่ยวข้องออกจากเขตปฏิบัติการ
เขตปฏิบัติการชั้นใน กั้นบุคลากรทางสาธารณสุขออกจากจุดเกิดเหตุให้พ้นอันตราย ประมาณ 100 ฟุตจากจุดเกิดเหตุ
การวางธง
วางธงสีส้ม หมายถึง สถานการณ์อยู่ในภาวะเสี่ยงอันตรายสูง เจ้าหน้าที่กำลังควบคุมสถานการณ์ ให้อพยพไปยังสถานที่ปลอดภัย
การจัดเตรียมพื้นที่ส่วนต่างๆ
Ambulance command point เป็นจุดปฏิบัติการที่ใช้เพื่อเป็นพื้นที่การบัญชาการของฝ่ายแพทย์ (ambulance or medical commander point)
Forward control point เป็นจุดที่หัวหน้าทีมหรือชุดปฏิบัติการนั้นๆ (forward commander)
Ambulance Parking Point เป็นตำแหน่งจอดรถพยาบาลฉุกเฉิน เพื่อรอรับคำสั่งก่อนเข้ารับผู้ป่วยที่จุดกำหนดรับผู้ป่วย (ambulance loading point)
Casualty Clearing Station เป็นจุดที่ใช้ปฏิบัติหน้าที่ของบุคลากรทางการแพทย์ มักจะมีกระบวนการคัดแยกครั้งที่ 2 (secondary triage) และการรักษาเป็นหลัก
ลำดับการจัดส่งผู้ป่วยและจัดรถและผู้ดูแลผู้บาดเจ็บแต่ละราย ขณะนำส่งไปยังโรงพยาบาล
ลำดับ 1
ผู้ป่วยรายที่ 1
หัวหน้าทีม จำนวน 1 คน ได้แก่ แพทย์ หรือ พยาบาลวิชาชีพ ระดับ Advance พยาบาลวิชาชีพ ระดับ Develop หรือ Doing จำนวน 1 คน พยาบาลวิชาชีพ ระดับ Basic จำนวน 1 คน
ลำดับ 5
ผู้ป่วยรายที่ 3
หัวหน้าทีม จำนวน 1 คน ได้แก่ แพทย์ หรือ พยาบาลวิชาชีพ ระดับ Advance พยาบาลวิชาชีพ ระดับ Develop หรือ Doing จำนวน 1 คน พยาบาลวิชาชีพ ระดับ Basic จำนวน 1 คน
ลำดับ 4
ผู้ป่วยรายที่ 8
หัวหน้าทีม จำนวน 1 คน ได้แก่ แพทย์ หรือ พยาบาลวิชาชีพ ระดับ Advance พยาบาลวิชาชีพ ระดับ Develop หรือ Doing จำนวน 1 คน พยาบาลวิชาชีพ ระดับ Basic จำนวน 1 คน
ลำดับ 6
ผู้ป่วยรายที่ 7
หัวหน้าทีม จำนวน 1 คน ได้แก่ พยาบาลวิชาชีพ ระดับ Develop และ พยาบาลวิชาชีพ ระดับ Doing จำนวน 1 คน
ลำดับ 3
ผู้ป่วยรายที่ 5
หัวหน้าทีม จำนวน 1 คน ได้แก่ แพทย์ หรือ พยาบาลวิชาชีพ ระดับ Advance พยาบาลวิชาชีพ ระดับ Develop หรือ Doing จำนวน 1 คน พยาบาลวิชาชีพ ระดับ Basic จำนวน 1 คน
ลำดับ 7
ผู้ป่วยรายที่ 6
หัวหน้าทีม จำนวน 1 คน ได้แก่ พยาบาลวิชาชีพ ระดับ Develop และ พยาบาลวิชาชีพ ระดับ Doing จำนวน 1 คน
ลำดับ 2
ผู้ป่วยรายที่ 2
หัวหน้าทีม จำนวน 1 คน ได้แก่ แพทย์ หรือ พยาบาลวิชาชีพ ระดับ Advance พยาบาลวิชาชีพ ระดับ Develop หรือ Doing จำนวน 1 คน พยาบาลวิชาชีพ ระดับ Basic จำนวน 1 คน
ลำดับ 8
ผู้ป่วยรายที่ 9
หัวหน้าทีม จำนวน 1 คน ได้แก่ พยาบาลวิชาชีพ ระดับ Develop และ พยาบาลวิชาชีพ ระดับ Doing จำนวน 1 คน
ลำดับ 9
ผู้ป่วยรายที่ 10
หัวหน้าทีม จำนวน 1 คน ได้แก่ พยาบาลวิชาชีพ ระดับ Develop และ พยาบาลวิชาชีพ ระดับ Doing จำนวน 1 คน
ลำดับ 10
ผู้ป่วยรายที่ 4
หัวหน้าทีม จำนวน 1 คน ได้แก่ พยาบาลวิชาชีพ ระดับ Develop และ พยาบาลวิชาชีพ ระดับ Doing จำนวน 1 คน
ประเมินเรื่อง : Safety :
. Self safety
สังเกตสิ่งที่จะทำให้เกิดอันตรายต่อตนเองและสมาชิกในทีม สวมรองเท้าบู๊ตเนื่องจากพื้นที่นั้นมีดินโคลน สวมชุดและอุปกรณ์ป้องกันตนเองเนื่องจากว่าเราไม่ทราบว่าผู้ป่วยคนใดมีโรคประจำตัวที่สามารถแพร่กระจายได้
Scene safety
หากมีน้ำไหลแรง หรือดินถล่ม ไม่ควรเข้าไปใกล้พื้นที่นั้น ควรให้เจ้าหน้าที่กู้ภัยช่วยนำผู้ป่วยออกมาจากพื้นที่ จากสถานการณ์พบว่ามีบ้านบางหลังที่พังถล่ม หากมีผู้ป่วยอยู่ในนั้น ควรให้เจ้าหน้าที่กู้ภัยช่วยเหลือนำผู้ป่วยออกมาเช่นกัน หากมีเสาไฟล้ม สายไฟฟ้าพาดรอบพื้นที่ที่ผู้ป่วยอยู่ ให้เจ้าหน้าที่การไฟฟ้าเข้าช่วยเหลือ
Survivor safety
รีบเคลื่อนย้ายผู้ป่วยออกจากจุดที่มีน้ำไหลแรง หรือดินถล่มไปยังจุดปลอดภัยเพื่อให้การรักษา ประเมินผู้ป่วยและให้การพยาบาลเบื้องต้น และรีบนำส่งผู้ป่วยที่อยู่ในภาวะวิกฤตไปยังโรงพยาบาลที่ใกล้เคียงโดยเร็ว
ทีมแรกที่เข้าให้ประเมิน triage ผู้บาดเจ็บแต่ละคน
ผู้บาดเจ็บคนที่ 1 ชายอายุ 40 ปี มีแผลที่ไม้ทิ่มหน้าอกข้างช้าย หายใจ 45 ครั้งต่อนาที P 130 ครั้งต่อนาที ไม่ทำตามคำสั่งได้
สีแดง คือ ผู้บาดเจ็บระดับฉุกเฉินหรือวิกฤต เนื่องจาก ผู้ป่วยแผลที่ไม้ทิ่มหน้าอกข้างช้าย หายใจ 45 ครั้งต่อนาที P 130 ครั้งต่อนาที ไม่ทำตามคำสั่งได้
การดูแล
ประเมิน
ให้การดูแลแผลที่หน้าอกซ้ายโดยการปิดแผล ไม่ลงน้ำหนักมากเกินไป ยึดวัตถุไม่ให้ขยับ
3.ดูแลให้ Oxygen mask with bag reservior 10 – 12 LPM
ผู้บาดเจ็บที่ 2 ชายอายุ 20 ปี มีแผลที่ด้านหลัง หายใจ : ครั้งต่อนาที P 128 ครั้งต่อนาที ทำตามคำสั่งได้
สีแดง คือ ผู้บาดเจ็บระดับฉุกเฉินหรือวิกฤต เนื่องจาก ผู้ป่วยมีแผลที่ด้านหลัง หายใจ : ครั้งต่อนาที P 128 ครั้งต่อนาที
การดูแล
ดูแลแผลที่หลังโดยการปิดแผลไม่ลงน้ำหนัก ยึดวัตถุไม่ให้ขยับ
3.ดูแลให้ Oxygen mask with bag reservior 10 – 12 LPM
ผู้บาดเจ็บคนที่ 3 ชายอายุ 30 ปี มีแผลที่แขนซ้าย หายใจ 40 ครั้งต่อนาที P 100 ครั้งต่อนาที ทำตามคำสั่งได้
สีเแดง คือ ผู้บาดเจ็บรายนี้อยู่ในความรุนแรงระดับเร่งด่วน เนื่องจาก ผู้ป่วยปีมีแผลที่แขนซ้าย หายใจ 40 ครั้งต่อนาที P 100 ครั้งต่อนาที
การดูแล
ห้ามเลือด ปิดแผลด้วยก๊อซชุบ 0.9% NSS solution การให้ส่วนที่บาดเจ็บอยู่นิ่งๆ โดยการดามที่แขน (Splint) และยกส่วนที่บาดเจ็บพยุงให้สูงเพื่อลดบวม
ประเมิน
ผู้บาดเจ็บคนที่ 4 ชายอายุ 30 ปี นอนนิ่งไม่หายใจหลังเปิดทางเดินหายใจ ตัวอุ่นๆ
สีดำ คือ ผู้บาดเจ็บรายนี้ได้เป็นผู้เสียชีวิต เนื่องจาก ผู้ป่วยนอนนิ่งไม่หายใจหลังเปิดทางเดินหายใจ
การดูแล
ประเมิน
เปิดทางเดินหายใจ
ช่วยฟื้นคืนชีพ
ผู้บาดเจ็บคนที่ 5หญิงอายุ 31 ปี ต้นขาหักทั้งสองข้าง หายใจ 24 ครั้ง ชีพจร 132 ครั้งต่อนาที
สีแดง คือ ผู้บาดเจ็บระดับฉุกเฉินหรือวิกฤต เนื่องจาก ผู้ป่วยไม่สามารถเดินได้ต้นขาหักทั้งสองข้าง หายใจ 24 ครั้ง ชีพจร 132 ครั้งต่อนาที
การดูแล
ตรวจสอบบริเวณที่ขาหัก
ประเมิน
3.ทำการห้ามเลือด ใช้ผ้าก็อซชุบ 0.9 % NSS Solution แล้วพันทับ ห้ามดึงกระดูกให้เข้าที่
4.ให้ส่วนที่บาดเจ็บอยู่นิ่งโดยการดาม
ประคบเย็นและยกส่วนที่บาดเจ็บให้สูงขึ้นเล็กน้อยเพื่อลดบวม
ผู้บาดเจ็บคนที่ 6 ชาย 46 ปี นอนกับพื้น หายใจ 28 ครั้งนาที ชีพจร 112 ครั้ง/นาที ไม่ทำตามคำสั่ง
สีเหลือง คือ ผู้บาดเจ็บรายนี้อยู่ในความรุนแรงระดับเร่งด่วน เนื่องจาก ผู้ป่วยหายใจ 28 ครั้งนาที ชีพจร 112 ครั้ง/นาที ไม่ทำตามคำสั่ง
การดูแล
2.การ เปิดทางเดินหายใจโดยใช้วิธี jaw thrush maneuver และดูแลให้ Oxygen mask with bag 10 LMP
ประเมิน
ผู้บาดเจ็บคนที่ 7 หญิง 33 ปี นอนเจ็บหน้าอก หายใจ 28 ครั้งนาที ชีพจร 96 ครั้ง
สีเหลือง คือ ผู้บาดเจ็บรายนี้อยู่ในความรุนแรงระดับเร่งด่วน เนื่องจาก ผู้ป่วยหายใจ 28 ครั้งนาที ชีพจร 96 ครั้ง
การดูแล
ประเมิน
2.. จัดท่าให้ผู้ป่วยนอนศีรษะสูง 30-45 องศา
ดูแลให้ได้รับการพักผ่อน
ผู้บาดเจ็บคนที่ 8 ชายวัยรุ่น เดินได้ บ่นปวดท้องมาก หายใจ 30 b/min ชีพจร 124 ครั้ง/นาที
แดง คือ ผู้บาดเจ็บรายนี้อยู่ในความรุนแรงระดับเร่งด่วน เนื่องจาก ผู้ป่วยหายใจ 30 b/min ชีพจร 124 ครั้ง/นาที
การดูแล
ประเมิน
จัดท่าให้ผู้ป่วยนอนท่าศีรษะสูง 30-45 องศา
ให้ O2 Mask with bag reservoir 10 – 12 LPM
ดูแลให้ได้พักผ่อน
ผู้บาดเจ็บคนที่ 9 หญิง 60 ปี ขาขวาหัก หายใจ 18 ครั้งนาที ชีพจร 110 ครั้ง/นาที
สีเหลือง คือ ผู้บาดเจ็บรายนี้อยู่ในความรุนแรงระดับเร่งด่วน เนื่องจาก ผู้ป่วยมาสามรถเดินได้ขาขวาหัก หายใจ 18 ครั้งนาที ชีพจร 110 ครั้ง/นาที
การดูแล
ประเมิน
จัดท่าให้ผู้ป่วยนอนท่าศีรษะสูง 45 องศา
3.ดูแลให้ได้รับออกซิเจน 10 – 12 ลิตร / นาทีโดยใช้ Mask with bag reservoir
4.ดูแลให้ได้รับสารน้ำ 0.9% NSS IV 1000 cc 80 cc/hr
ห้ามเลือด และ ทำความสะอาดบาดแผล
ผู้บาดเจ็บคนที่ 10 ชายอายุ 40 ปี นอนนิ่งมีแผลเปิดที่ศีรษะ มีสมองไหล หลังเปิดทางเดินหายใจ หายได้เองช้าๆ 5 ครั้งต่อนาที
สีดำ คือ ผู้บาดเจ็บรายนี้ได้เป็นผู้เสียชีวิต เนื่องจาก ผู้ป่วยนอนนิ่งมีแผลเปิดที่ศีรษะ มีสมองไหล หลังเปิดทางเดินหายใจ หายได้เองช้าๆ 5 ครั้งต่อนาที
การดูแล
ประเมิน
ช่วยฟื้นคืนชีพ
3.ห้ามเลือด
ประสานงานและแจ้งศูนย์สั่งการ
จากสถานการณ์น้ำป่าไหลลากเข้าท่วมบ้านเรือนประชานชนในพื้นที่ บ้านกระเหรี่ยงรวมมิตร ต.แม่ยาว อ.เมือง จ. เชียงราย ประชาชนได้รับความเสียหายกว่า 20 หลัง เจ้าหน้าที่เข้าพื้นที่สำรวจความเสียหายและเร่งช่วยเหลือผู้ประสบภัยแล้ว พบผู้บาดเจ็บรวมทั้งสิ้น 10 ราย สาหัส 6 ราย และบาดเจ็บทั่วไป 3 ราย ต้องทำการนำส่งโรงพยาบาลใกล้เคียง
ประเมิน