Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรควิตกกังวล (Anxiety disorders) - Coggle Diagram
โรควิตกกังวล (Anxiety disorders)
โรควิตกกังวล (Anxiety disorders) คือ เป็นความรู้สึกวิตกกังวลหรือไม่สบายใจ กลัวมากเกินไป ตอบสนองไม่เหมาะสม ทำให้เกิดความเครียดหรือความกลัว คุมได้ยาก ขัดขวางชีวิตประจำวัน
สาเหตุ
พันธุกรมม
สภาพแวดล้อม การเลี้ยยงดู การเลียนแบบพฤติกรรม การประสบกับเหตุการณ์ต่างๆ
ประเภท
1.โรคกลัว (Phobias disoder)
โรคกลัว (Phobias disoder) ส่วนใหญ่พัฒนาขึ้นในวัยเด็ก ซึ่งมี สิ่งเร้าของโรคกลัว (Phobic stimulus) บุคคลพยายามหลีกเลี่ยงสิ่งเร้าของโรคกลัวที่ทำให้ตนเองกลัว
เกณฑ์การวินิจฉัย
กลัวหรือวิตกกังวลอย่างมาก 2 ใน 5 สถานการณ์
-การใช้ระบบขนส่ง
-การอยู่ในที่เปิดโล่ง
-การอยู่ในที่ปิด
-การยืนต่อแถวในที่โล่งท่วมกลางผู้คน
-การอยู่นอกบ้านคนเดียว
หนีจากสถานการณ์ลำบาก หรือไม่ได้รับความช่วยเหลือ
สถานการณ์กระตุ้นความกลัวเสมอ พยายามหลีกเลี่ยงหรือหาเพื่อนอยู่ด้วย
กลัว กังวล ผิดปกติ ทำให้ทุกข์ รบกวนการใช้ชีวิต
ประเภท
โรคกลัวที่โล่งแจง (Agoraphobia) มักเกิดร่สมกับความตื่นตระหนก (panic disoder) เช่นใจสั่น มือสั้น เหงื่อออก
โรคกลัวแบบเฉพาะเจาะจง (Specific Phobias) เกิดความกลัวเฉพาะวัตถุหรือสถานการณ์
สัตว์หรือแมลง
สิ่งแวดล้อม
สถานการณ์
เลือด การฉีดยา การบาดเจ็บ
โรคสังคม (Social Phobias) กลัวการพบปะพูดคุยกับคนแปลกหน้า
การพยาบาล
1.สร้างสมัพันธภาพเพื่อการบำบัด พดคุยกับผู้ป่วย
2.การประเมินผู้ป่วย
3.พฤติกรรม (Behavioral therapy) ให้ผุ้ป่วยเผชิญกับสิ่งที่กลัวแบบค่อยเป็นค่อยไป (Graded exposure)
4.อยู่เป็นเพื่อนขณะผู้ป่วยมีความกลัวและให้กำลังใจผู้ป่วย
5.ให้ผู้ป่วยตัดสินใจที่จะเลือกวิธีในการจัดการกับความกลัว
6.หลีกเลี่ยงการหาเหตุผลมาอธิบาย
7.สร้างและให้ความั่นใจในความปลอดภัยของผู้ป่วย
8.ร่วมประเมินปัญหาและให้ผู้ป่วยเลือกด้วยวตนเอง
2.โรคหวาดระแวง (Panic disorder)
โรคหวาดระแวง (Panic disorder) เป็นโรคที่มีความวิตกกังวลอย่างรุนแรง ผู้ป่วยจะมีอากาาร Panic attack นาน 10-15 นาทีหรือนานถึง 30 นาที โดยมีอย่างน้อย 4 อาการ ได้แก่ ใจสั่น เหงื่อแตก หายใจออก เหมือนมีก้อนจุกที่คอ เจ็บแน่นหน้าอก derealization ควบคุมตนเองไม่ได้ กลัวตัวเองตาย คลื่นไส้ ปั่นป่วนในท้อง เวียนศีรษะเป็นลม หนาวสั่นร้อนวูบวาบ
การพยาบาล
1.การสร้างสัมพันธภาพทางการรักษา
2.การประเมินผู้ป่วย ด้านร่างกาย ก้านอารมณ์ ด้านความคิด
3.จัดสภาพแวดล้อมให้เงียบสงบ
4.ขณะผู้ป่วยมีอาการควรอยู่กับผู้ป่วยตลอดเวลา
5.เมื่อผู้ป่วยมีความวิตกกังวลลดลง ควรให้ผู้ป่วยระบายความรู้สึก ให้กำลังใจ
6.ใช้คำพูดง่ายๆ สั้นๆ ชัดเจน
7.ให้ยาแก้ซึมเศร้า (Antidepressant drugs)
8.ฝึกทักษาะการผ่อนคลาย
3.Stress disorder (Acute stress disorder / Post traumatic stress disorde : PTSD)
ความเครียดแบบเฉียบพลัน (Acute stress disorder : ASD) เกิดขึ้นภายใน 2-3 weekแรกหรือประมาณ 1 เดือน หลังเกิดเหตุการณ์สะเทือนขวัญ โดยมีอาการกลัว สิ้นหวัง สับสน หากไม่ได้รับการช่วยเหลือทางด้ายจิตใจที่เหมาะสมผู้ป่วยจะไม่สามารถปรับตัวได้
Post traumatic stress disorde : PTSD เกิดความรู้สึกโศกเศร้า หรือมีความบกพร่องในการเข้าสังคม อาการจะแสดงภายใน 6 เดือนหลังเกิดเหตุการณ์รุนแรง หากมีอาการมากกว่า 3 เดือนขึ้นไป จะถูกวินิจฉัยว่าเป็น PSTD เรื้อรัง
Re-experiencing เป็นอาการของผู้รอดจากเหตุการณ์สะเทือนขวัญที่สามารถปลดปล่อยความคิดจากเหตุการณ์นั้นได้ โดยมีการหวนกลับมาทางมโนภาพ ความคิด ปละการรับรู้ เป็นภาพหลอน
Avoidnce/numbing ผู้ป่วยที่หลีกเลี่ยงความคิด ความราู้สึก หรือพูดถึงเหตุการณ์ พยายามหลีกเลี่ยงกิจกรรม สถานที่ หรือบุคคลที่กระตุ้นให้นึกถึงเหตุการณ์นั้น การเข้าร่วมกิจกรรมลดลง แยกตัว จำกัดการแสดง