Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การจัดการสาธารณภัย, สถานการณ์_การจัดการสาธารณภัย, B6129422 นางสาวศศิธร…
การจัดการสาธารณภัย
โจทย์กรณีศึกษา
สถานการณ์ฝนตกหนักตลอดคืนส่งผลให้น้ำป่าไหลลากเข้าท่วมบ้านเรือนประชาชนในพื้นที่ บ้านกระเหรี่ยงรวมมิตร ต.แม่ยาว อ.เมืองเชียงราย บ้านเรือนประชาชนได้รับความเสียหายกว่า 20 หลัง เจ้าหน้าที่เข้าพื้นที่สำรวจความเสียหายและเร่งช่วยเหลือผู้ประสบภัยแล้ว
- ชายอายุ 40 ปี มีแผลที่หน้าอกข้างช้าย หายใจ 45 ครั้งต่อนาที P 130 B/M BP 90/75 mmHg E1V2M1 O2sat 80%
-
- ชายอายุ 30 ปี มีแผลที่แขนช้าย หายใจ 40 ครั้งต่อนาที P 100 ครั้งต่อนาที E4V5M6
- ชายอายุ 30 ปี นอนนิ่งไม่หายใจหลังเปิดทางเดินหายใจ ตัวอุ่นๆ
- หญิงอายุ 31 ปี ขาหักทั้งสองข้าง หายใจ 24 ครั้ง ชีพจร 132 ครั้งต่อนาทีBP 110/82 mmHg E4V5M5
- ชาย 46 ปี นอนกับพื้นมีแผลที่หน้าอก หายใจ 28 ครั้ง/นาที ชีพจร 112 ครั้ง/นาทีBP 130/95 mmHg O2 sat 92% E3V3M5
- หญิง 33 ปีนอนกับพื้นบอกว่าเจ็บหน้าอก หายใจ 28 ครั้ง/นาที ชีพจร 96 ครั้ง BP 130/95 mmHg E4V5M6 O2 sat 95%
- ชายวัยรุ่น นั่งที่พื้น บอกปวดท้องมาก หายใจ 30 b/min BP 110/70 mmHg P 100 b/m
- หญิง 60 ปี ขาขวาหักมีเลือดออกมาก หายใจ 8 ครั้ง/นาที ชีพจร 125 ครั้ง/นาทีBP 100/85 mmHg Cap Refill 3 sec
- ชายอายุ 40 ปี นอนนิ่งมีแผลเปิดที่ศีรษะ มีสมองไหล หลังเปิดทางเดินหายใจ หายได้เองช้าๆ 5 ครั้งต่อนาทีBP 90/60 mmHg P 130 b/m Cap refill 4 sec O2 sat 88 %
การจัดการ MCI
1.เมื่อรถ EMS คันแรกที่ไปถึง (3 คน) หัวหน้าทีม (พยาบาล) ใส่ชุดทำหน้าที่เป็น Field Commander ชั่วคราว จนกว่าตัวจริงตามแผน หรือ ผู้ที่อาวุโสกว่าจะมาถึง เลือกจุดจอดรถ เปิดไฟกระพริบผู้ช่วย (EMT) ทำหน้าที่สื่อสารประสานงาน FR กั้นเขตปฏิบัติการ วางธง และช่วยจัดเตรียมพื้นที่ จุดต่างๆ อย่างไร
-
การรายงานสถานการณ์ไปยังศูนย์รับแจ้งเหตุและสั่งการ มีการประสานการรายงานสถานการณ์อย่างชัดเจน รัดกุมและครบถ้วน การรายงานข้อมูลเหตุการณ์มายังศูนย์สั่งการตามแนวทาง METHANE
-
บุคลากร
แพทย์ หรือพยาบาลวิชาชีพที่ผ่านการอบรม ACLS, มีประสบ การณ์ภาคสนามกับหน่วยกู้ชีพ และผ่านการสอบข้อเขียนในเรื่องการให้ยาและความรู้ความเข้าใจในระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉิน
-
-
-
-
Safety
-
Scene safety
-
ประเมินเส้นทางเกิดเหตุสามารถเข้าไปช่วยเหลือได้หรือไม่ เนื่องจากน้ำป่าไหลลากมาท่วมบริเวณบ้าน และบริเวณถนน
ประเมินสถานที่เข้าไปช่วยเหลือผู้บาดเจ็บปลอดภัยหรือไม่ : จากกรณีศึกษาเป็นอุบัติเหตุที่เกิดจากน้ำป่าไหลลากเข้าท่วมบ้านเรือนประชาชนซึ่งไม่มีความปลอดภัยเนื่องจากมีน้ำที่เข้าไหลเข้าไปยังที่เกิดเหตุ มีการล้มของสายไฟ มีการล้มของต้นไม้รอบ ๆ บ้านและบ้านได้รับความเสียหาย
Survivor safe
รีบเคลื่อนย้ายผู้ป่วยออกจากจุดเกิดเหตุไปยังจุดที่ปลอดภัยเพื่อให้การรักษา เช่น ภายในอาคารใกล้เคียง บนรถพยาบาล
รายที่ 1
-
-
Treatment
1.ประเมินระดับความรู้สึกตัว AVPU, ABCD, Neuro sign : GCS, Pupill ความรู้สึกตัวอยู่ในระดับ U = Unresponsive, GCS : E1V2M1 = 4 คะแนน
-
B:มีอัตราการหายใจ 45 bpm, SpO2 80% ดูแลพิจารณาใส่ท่อช่วยหายใจ เพื่อช่วยการหายใจของผู้ป่วย ป้องกันเนื้อเยื่อขาดออกซิเจนและลดการทำงานของระบบหายใจ
C:P 130 bpm, BP 90/75 mmHg ดูแลพิจารณาใส่ท่อช่วยหายใจ เพื่อช่วยการหายใจของผู้ป่วย ป้องกันเนื้อเยื่อขาดออกซิเจนและลดการทำงานของกล้ามเนื้อหัวใจ
2.ประเมินแผล และห้ามเลือด ระมัดระวังในการปิดแผลไม่ลงน้ำหนักมากเกินไป เพราะอาจจะทำให้เพิ่มแรงปักฝังลึกลงไปอีก ยึดวัตถุให้อยู่นิ่ง ๆ ห้ามเลือดโดยใช้ผ้าปิดแผลรอบ ๆ วัตถุนั้นหนา ๆ เป็นการช่วยยึดวัตถุไม่ให้วัตถุนั้นขยับ
3.ดูแลให้ IV fluid replacement โดยให้ LRS 1000 ml IV loading dose in 15 mins ×2 dose เพื่อส่งเสริมการไหลเวียนเลือดในร่างกาย
-
รายที่ 2
-
-
Treatment
1.ประเมินระดับความรู้สึกตัว AVPU, ABCD, Neuro sign : GCS, Pupill ความรู้สึกตัวอยู่ในระดับ V = Verbal stimuli, GCS : E3V4M6 = 13 คะแนน
-
B:มีอัตราการหายใจ 8 bpm ดูแลให้ Oxygen Mask with bag 10 L/min เพื่อป้องกันเนื้อเยื่อขาดออกซิเจนและลดการทำงานของระบบหายใจ
C:P 128 bpm, BP 100/79 mmHg ดูแลให้ Oxygen Mask with bag 10 L/min เพื่อรักษาระดับออกซิเจนลดการทำงานของกล้ามเนื้อหัวใจ
D: GCS : E3V4M6 = 13 คะแนน, มีแผลที่หลัง
2.ประเมินแผล และห้ามเลือด ระมัดระวังในการปิดแผลไม่ลงน้ำหนักมากเกินไป เพราะอาจจะทำให้เพิ่มแรงปักฝังลึกลงไปอีก ห้ามเลือดโดยใช้ก๊อซปิดบาดผลรอบ ๆ ไม้ที่ปักหลัง เป็นการช่วยพยุงไม้ด้วย
-
รายที่ 3
-
-
Treatment
1.ประเมินระดับความรู้สึกตัว AVPU, ABCD, Neuro sign : GCS, Pupill ความรู้สึกตัวอยู่ในระดับ A = Alert, GCS : E4V5M6 = 15 คะแนน
-
B : มีอัตราการหายใจ 40 bpm ดูแลให้ Oxygen Mask with bag 10 L/min เพื่อป้องกันเนื้อเยื่อขาดออกซิเจนและลดการทำงานของระบบหายใจ
-
D : GCS : E4V5M6 = 15 คะแนน, มีแผลที่แขนช้าย
-
3.การให้ส่วนที่บาดเจ็บอยู่นิ่ง ๆ โดยการดามที่แขน (Splint) และยกส่วนที่บาดเจ็บพยุงให้สูงเพื่อลดบวม และรีบนำส่งโรงพยาบาล
รายที่ 4
-
-
Treatment
1.ประเมินผู้ป่วยเบื้องต้นโดยใช้เกณฑ์ประเมินตามแบบ ABCD ซึ่งกรณีศึกษา ผู้ป่วยนอนนิ่งไม่มีอัตราการหายใจ หลังเปิดทางเดินหายใจผู้ป่วยมีตัวอุ่นๆขึ้น
-
-
รายที่ 5
-
-
Treatment
1.ประเมินความรู้สึกตัว (Assessment Mental status) : AVPU, GCS จากกรณีศึกษาอยู่ในระดับ A = Alert ผู้บาดเจ็บรู้สึกตัวดี พูดคุยรู้เรื่อง GCS = 14 คะแนน E4V5M5
-
B = อัตราการหายใจ 24 ครั้ง /นาที จึงดูแลให้ได้รับ Oxygen Mask with back 10 ลิตร/นาที เพื่อให้เซลล์และเนื้อเยื่อในร่างกายได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอเพื่อป้องกันไม่เกิดภาวะพร่องออกซิเจน
C = Circulation ชีพจร 132 ครั้งต่อนาที และความดันโลหิต 110/82 mmHg จึงดูแลให้ได้รับ Oxygen Mask with back 10 ลิตร/นาที เพื่อให้เซลล์และเนื้อเยื่อในร่างกายได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอเพื่อป้องกันไม่เกิดภาวะพร่องออกซิเจน
-
2.เมื่อถึงที่เกิดเหตุอย่าเคลื่อนย้ายผู้ป่วยโดยไม่จำเป็น ไม่ดึงหรือจัดกระดูกให้เข้าที่ด้วยตนเอง ให้ทำการ จัดผู้ป่วยในอยู่ในท่าเดิม ทำให้ขาบริเวณที่หักอยู่นิ่งมากที่สุด และใช้หลักการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยที่สงสัยการบาดเจ็บกระดูกสันหลังระดับคอ เคลื่อนย้ายแบบ Log roll
-
รายที่ 6
-
-
Treatment
1.ประเมินระดับความรู้สึกตัว AVPU, ABCD, Neuro sign-ความรู้สึกตัวอยู่ในระดับ P = Painful stimulus ผู้บาดเจ็บตอบสนองตำแหน่งที่เจ็บ
2.ประเมินตามหลัก A B C D A: สามารถหายใจเองได้ไม่มีสิ่งอุดตันทางเดินหายใจ B: นับอัตราการหายใจอัตราการหายใจ 28 ครั้ง / นาที C: : การทำ Capillary refill, BP 130/95 mmHg, อัตราการเต้นของหัวใจ 112 bpm, BP 110/82 mmHg ดูแลให้ Oxygen Cannala 5 L / min D: ประเมิน GCS = 11 คะแนน E3v3M5, มีแผลที่หน้าอก
-
-
รายที่ 7
-
-
Treatment
1.ประเมินความรู้สึกตัว (Assessment Mental status) : AVPU, GCS กรณีศึกษาอยู่ในระดับ A = Alert ผู้บาดเจ็บรู้สึกตัวดี พูดคุยรู้เรื่อง GCS = 15 คะแนน E4V5M6
-
B = อัตราการหายใจ 28 ครั้ง /นาที จึงดูแลให้ได้รับ Oxygen Mask with reservoir bag 15 ลิตร/นาที เพื่อให้เซลล์และเนื้อเยื่อในร่างกายได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอเพื่อป้องกันไม่เกิดภาวะพร่องออกซิเจน
C = ชีพจร 96 ครั้งต่อนาที และความดันโลหิต 130/95 mmHg จึงดูแลให้ได้รับ Oxygen Mask with reservoir bag 15 ลิตร/นาที เพื่อให้เซลล์และเนื้อเยื่อในร่างกายได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอเพื่อป้องกันไม่เกิดภาวะพร่องออกซิเจน
-
-
รายที่ 8
-
-
Treatment
1.ประเมินสัญญาณชีพของผู้ป่วย และวัดออกซิเจนปลายนิ้วทุก 1-2 ชั่วโมง เพื่อติดตามการเปลี่ยนแปลงของสัญญาณชีพ
-
3.จัดท่าให้นอนศีรษะสูง semi fowler position เพื่อให้กระบังลมเคลื่อนต่ำ ปอดขยายได้เต็มที่ในการแลกเปลี่ยนแก๊สมากขึ้น
4.ดูแลให้ได้รับออกซิเจน Canular 3 l/min และ Keep Oxygen saturation > 95 % และดูแลทางเดินหายใจให้โล่งเพื่อให้ได้รับออกซิเจนเพียงพอสำหรับร่างกาย
5.ประเมินตำแหน่งการปวดท้องและประเมินอาการปวด (Pain Score) ทุก 2- 4 ชั่วโมงของผู้ป่วยเพื่อให้ทราบว่าตำแหน่งที่ปวดและทราบอาการปวดของผู้ป่วยจะได้ดูแลได้ทันท่วงที
6.ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับสารน้ำทางหลอดเลือดดำ คือ 0.9 % NSS เพื่อให้ได้ร่างกายได้รับสารน้ำ เกลือแร่อย่างเพียงพอ
-
รายที่ 9
-
-
Treatment
1.ประเมินตามหลัก ABCD พบว่าผู้บาดเจ็บ สามารถพูดคุยได้ RR 18 bpm P 110 bpm. capillary refill < 2 วินาที GCS = E4V5M6 = 15 คะแนน Pupillary response
2.ประเมินร่างกายบริเวณที่ขาหักดูแลให้ผู้ป่วยอยู่นิ่ง ๆ ในท่าเดิมโดยทำการดามบริเวณที่ขา (splint) ชั่วคราวเพื่อลดการเคลื่อนไหวของกระดูกที่หักและช่วยให้ผู้ป่วยไม่บาดเจ็บเพิ่มมากขึ้น
4..ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับสารน้ำทางหลอดเลือดดำคือ 0.9% NSS เพื่อให้ได้ร่างกายได้รับสารน้ำเกลือแร่อย่างเพียงพอ
-
รายที่ 10
-
-
Treatment
1.เปิดทางเดินหายใจให้โล่ง ด้วยวิธี jaw thrust maneuver ซึ่งจะทําในช่วงแรกก่อนใส่ท่อช่วยหายใจและ ก่อนใส่เฝือกดามคอชนิดแข็ง
2.การช่วยหายใจ โดยการให้ออกซิเจนผ่านชุดช่วยหายใจ (resuscitation-masks-sets) ซึ่งในการปฏิบัติอาจเป็นชุดออกซิเจนถังเล็กที่ยกเคลื่อนที่ได้เร็ว (mobile oxygen) หรืออาจบีบ ambu bag ที่ต่อกับ resuscitation-masks ก็ได้หากจําเป็นต้องใส่ท่อช่วยหายใจพยาบาลต้องเตรียมอุปกรณ์และช่วยนักปฏิบัติการฉุกเฉินการแพทย์ใส่ท่อช่วยหายใจตามแผนการรักษาของแพทย์ ซึ่งตามหลักของการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นสูง (Advanced Cardiac Life Support--ACLS) ต้องรักษาระดับออกซิเจนในเลือดโดยวัดที่ปลายนิ้วด้วยเครื่อง pulse Oximetry ให้ได้มากกว่่า หรือเท่ากับ 95%
-
-
-
การจัดรถ
เจ้าหน้าที่จุดนำส่ง (Loading officer) มีบทบาทในบริหารจัดการโรงพยาบาลนำส่ง เนื่องจากต้องรับข้อมูลทรัพยากรในพื้นที่ (serge capacity) คือรายการแสดงจำนวนเตียงที่โรงพยาบาลสามารถรับผู้ป่วยได้กี่เตียงจากการประสานงานของศูนย์รับแจ้งเหตุและสั่งการแนวทางในการ load ผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉิน (สีแดง) ควรสลับระหว่างโรงพยาบาล พร้อมกำชับให้รถที่นำส่งประสานงานไปที่ศูนย์รับแจ้งเหตุและสั่งการ เพื่อให้โรงพยาบาลที่จะรับผู้ป่วยเตรียมความพร้อม พนักงานขับรถจะต้องถูกกำชับให้อยู่รวมกันในพื้นที่ใกล้จุดจอด เพื่อให้เกิดความคล่องตัวเมื่อมีการร้องขอรถพยาบาล กรณี พนักงานขับรถอยู่ประจำรถ แนะนำให้เปิดหน้าต่าง ปิดแอร์ เพื่อให้พนักงานขับรถพยาบาลได้ รับรู้สภาพแวดล้อมหรือภยันตราย ที่อาจมีการเปลี่ยนแปลงได้
-
-
-