Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะอาเจียนรุนแรงในระยะตั้งครรภ์ (Hyperemesis gravidarum) - Coggle Diagram
ภาวะอาเจียนรุนแรงในระยะตั้งครรภ์
(Hyperemesis gravidarum)
อาการและอาการแสดง
อาการไม่รุนแรง น้ำหนักจะลดลงเล็กน้อย ไม่มีอาการขาดน้ำและสารอาหาร
อาการอาเจียนรุนแรงมากขึ้น อาเจียน 5-10 ครั้งต่อวัน หรือมากกว่า
ขาดสารอาหาร และน้ำหนักลดลงมาก
ภาวะขาดสารน้ำ (dehydration)
เกิดภาวะ acidosis และ alkalosis และความไม่สมดุลของเกลือแร่ (electrolyte imbalance)
ลมหายใจมีกลิ่นอะซิโตน (acetone) ตรวจพบคีโนในปัสสาวะ (ketonuria)
ความเครียด ความวิตกกังวล ภาวะซึมเศร้า
กลุ่มอาการ Wenicke’s encephalopathy จากการขาดวิตามินบี 1
มีอาการคลื่นไส้อาเจียนอย่างรุนแรงเป็นระยะเวลานานตลอดจนไม่สามารถยับยั้งได้
แนวทางการรักษา
วินิจฉัยแยกจากอาการอื่น
hepatitis, PU, enteritis, appendicitis, molar pregnancy
อาการไม่รุนแรง
แนะนำให้ได้รับอาหารทดแทนการสูญเสียเกลือแร่ อาหารที่มี K และ Mg
อาการรุนแรงมาก
NPO
แก้ไขภาวะขาดน้ำ ความไม่สมดุลของเกลือแร่ และความเป็นกรด-ด่างของเลือด
5% D/NSS 1,000 ml. IV
parenteral nutrition therapy ให้ได้แคลอรี่มากกว่า 2,000 แคลอรี่/วัน ซึ่งต้องมีกรดอะมิโน ไขมัน วิตามิน และเกลือแร่ ทาง central venous access หรือ subclavian vein
การรักษาด้วยยา
ยาแก้คลื่นไส้อาเจียน
Metoclopramide 5-10 mg. IM q 6-8 hr.
Promethazine 12.5–25 mg IM q 4-5 hr.
อาการดีขึ้นเปลี่ยนเป็น oral med.
Vitamin
B 6 (Pyridoxine) 10-25 mg. 1 tab ◉ t.i.d หรือ q.i.d pc.
ไม่เกิน 200 mg/d
ยาคลายกังวล ยานอนหลับ
Diazepam 2 mg. 1 tab ◉ b.i.d pc.
Diazepam 5 mg. 1 tab ◉ OD hs.
Diazepam 2 mg. 1 tab ◉ OD pc.
เมื่ออาการแพ้ท้องรุนแรงดีขึ้น
รับประทานอาหารที่มีโปรตีนสูง ขนมปังกรอบ หลีกเลี่ยงอาหารรสเผ็ด อาหารมัน
หลีกเลี่ยงอาหารที่มีกลิ่นทำให้คลื่นไส้อาเจียน
ให้รับประทานอาหารอ่อน ครั้งละน้อยแต่บ่อยครั้งทุก 2-3 ชั่วโมง
รับประทานอาหารที่มีส่วนประกอบของขิงสามารถช่วยลดอาการคลื่นไส้ได้
หลีกเลี่ยงสิ่งแวดล้อม และสิ่งกระตุ้นที่ทำให้คลื่นไส้อาเจียน
กลิ่น แสง สี เสียง
การวินิจฉัย
การซักประวัติ ตรวจร่างกาย ประเมินจากอาการและอาการแสดง
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจเลือด
Hct. สูง, BUN สูง, SGOT สูง, LFT สูง
Na ต่ำ, K ต่ำ, Cl. ต่ำ , Protein ต่ำ
การตรวจปัสสาะ
ความถ่วงจำเพาะสูง, albumin เพิ่มขึ้น, ketonuria, ถ้าอาการรุนแรงมาก อาจพบน้ำดีในปัสสาวะได้
การตรวจพิเศษ
U/S, amniocentesis
Twin pregnancy, molar pregnancy, trisomy21, hydrops fetalis
สาเหตุ
ปัจจัยด้านมารดา
สภาพจิตใจ ความเครียด ความวิตกกังวล
(hydrochloric acid: HCI) ลดลง
(progesterone) เพิ่มขึ้น
มีความผิดปกติของระบบทางเดินอาหาร
แพ้ท้องอย่างรุนแรงในครรภ์ก่อน หรือเป็นการตั้งครรภ์ครั้งแรก
การบริโภคอาหารไม่เหมาะสมตั้งแต่ก่อนตั้งครรภ์
ขาดวิตามินบางชนิดโดยเฉพาะวิตามินบี 6
อาหารที่มีไขมันสูง
(estrogen) สูง, human chorinoic gonadotropin (hCG) เพิ่มมากกว่าปกติ
การตั้งครรภ์แฝด
(hydatidiform moles)
ภาวะ hyperthyroidism
ปัจจัยด้านทารก
ทารกมีความผิดปกติเกี่ยวกับโครโมโซม triploidy, trisomy 21
ทารกบวมน้ำ (hydrops fetalis)
ผลกระทบต่อการตั้งครรภ์
ผลกระทบต่อมารดา
ร่างกายเกิดการขาดน้ำ อุณหภูมิสูงขึ้น ชีพจรเบาเร็วและความดันโลหิตต่ำลง
การทำงานของไต ปัสสาวะออกน้อย มีไข้ผิวหนังแห้ง มีอาการอ่อนเพลีย
เกิดภาวะความเป็นกรดในร่างกาย มีอาการกระสับกระส่าย ไม่รู้สึกตัว หมดสติ
อาการรุนแรงมาก ร่างกายเสียสมดุลของอิเลคโตรลัยท์เกิดภาวะ hypokalemia, alkalosis กล้ามเนื้ออ่อนแรง
เกิดภาวะขาดสารอาหาร ผลกระทบต่อตับ ค่า SGOT เพิ่มขึ้น
มีอาการของการขาดวิตามิน
ชาปลายมือปลายเท้าจากการขาดวิตามิน B1 ขาดวิตามินซีและวิตามินบีรวม
การแข็งตัวของเลือดเสียไป มีเลือดออกตามไรฟัน จุดเลือดออกทั่วไปทั่วสมอง
ซึมและหมดสติและอาจเสียชีวิตได้จากภาวะ hepatic coma
ผลกระทบต่อทารกในครรภ์
ทารกในครรภ์เติบโตช้า และน้ำหนักแรกคลอดน้อยกว่าปกติ
เกิดภาวะเป็นกรดในร่างกาย อาจทำให้ทารกมีอาการทางสมอง เกิดภาวะ Wernicke’s encephalopathy
แท้ง คลอดก่อนกำหนด ทารกอาจตายคลอด และทารกพิการ (Fetal anomalies) จากการขาดสารอาหารได้
การพยาบาล
การพยาบาลสตรีตั้งครรภ์ที่ได้รับการรักษาแบบผู้ป่วยนอก
อธิบายสาเหตุของการเกิดภาวะอาเจียนรุนแรง และภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้น
แนะนำให้จิบเครื่องดื่มอุ่นๆ
รับประทานอาหารแข็งที่ย่อยง่าย
แนะนำให้รับประทานอาหารประเภทคาร์โบไฮเดรตเชิงเดี่ยว เพื่อให้ร่างกายได้รับพลังงานอย่างเพียงพอ
แนะนำวิธีการป้องกันอาการคลื่นไส้อาเจียน
แนะนำให้รับประทาน
อาหารทดแทนเกลือแร่ : น้ำตะไคร้ น้ำใบเตย น้ำผลไม้ น้ำกระเจี๊ยบ
อาหารที่มี K : กล้วย แคนตาลูป สัปปะรด ฝรั่ง ส้ม แอปเปิ้ล มะเขือเทศ และผักใบเขียวทุกชนิด
อาหารที่มี Mg : ผัก ถั่วชนิดต่าง ๆ
รับประทานยาแก้อาเจียนตามแผนการรักษาก่อนอาหารประมาณ 30 นาที
สอนวิธีการประเมินโภชนาการ การคำนวณ พลังงานที่ได้รับจากอาหารที่บริโภค และการชั่งน้ำหนัก
ปรับแบบแผนการรับประทานอาหาร เพื่อให้ได้พลังงานและสารอาหารที่เพียงพอ 2,000 กิโลแคลอรี่ต่อวัน
เปิดโอกาสให้สตรีตั้งครรภ์ได้พูดถึงปัญหา
abdominal pain, dehydration หรือน้ำหนักลดลงอย่างมากรีบมาพบแพทย์
การพยาบาลสตรีตั้งครรภ์ที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล
NPO อย่างน้อย 24-48 hr. เพราะเป็นสิ่งที่กระตุ้นให้เกิดอาการคลื่นไส้อาเจียน
หลีกเลี่ยงสิ่งที่จะกระตุ้นให้เกิดอาการคลื่นไส้อาเจียน
ดูแลความสะอาดของช่องปากและฟัน
ให้ได้รับสารน้ำทางหลอดเลือดดำ เพื่อแก้ไขภาวะขาดน้ำ
ดูแลให้ยาลดอาการคลื่นไส้อาเจียน ตามแผนการรักษา
บันทึก I&O โดยเฉพาะ urine output ไม่ควรน้อยกว่า 1,000 ml. /d
จัดสิ่งแวดล้อมให้สะอาด เงียบสงบ เหมาะแก่การพักผ่อน
เมื่ออาการดีขึ้น ให้เริ่มรับประทานอาหารมื้อละน้อยแต่บ่อยครั้ง
งดอาหารไขมัน
ติดตามชั่งน้ำหนัก เพื่อประเมินว่าได้รับสารน้ำและสารอาหารเพียงพอหรือไม่
แนะนำให้คู่สมรสหรือบุคคลในครอบครัวมีส่วนร่วมในการดูแลช่วยเหลือสตรีตั้งครรภ์อย่างใกล้ชิด
หลีกเลี่ยงสิ่งที่อาจก่อให้เกิดความเครียด
การพยาบาลสตรีตั้งครรภ์รับเมื่อกลับบ้าน
แนะนำการรับประทานอาหาร ครั้งละน้อยแต่บ่อยครั้ง อาหารย่อยง่าย หรือมีโปรตีน หลีกเลี่ยงอาหารที่มีไขมันมาก รสเผ็ด หรือมีกลิ่นแรง
ควรนั่งพักประมาณ 45 นาที ไม่ควรนอนทันที หลังจากรับประทานอาหาร
แนะนำให้ดื่มน้ำอุ่นทันที่ตื่นนอนประมาณครึ่งแก้ว
ควรดื่มน้ำ หรือเครื่องดื่มระหว่างมื้ออาหาร เพื่อป้องกันภาวะสูญเสียน้ำ
แนะนำให้พักผ่อนอย่างเพียงพอ เพื่อให้ร่างกายผ่อนคลาย อย่างน้อย 8 ชั่วโมงในเวลากลางคืน และกลางวันอย่างน้อย 1 ชั่วโมง
แนะนำการออกกำลังกาย หรือกายบริหารเบาๆ อย่างสม่ำเสมอ
แนะนำให้หลีกเลี่ยงสิ่งกระตุ้นให้เกิดความเครียด
อธิบายให้คู่สมรสและครอบครัวเข้าใจถึงภาวะที่เกิดขึ้น และควรให้การช่วยเหลือสตรีตั้งครรภ์อย่างใกล้ชิด
แนะนำให้เห็นความสำคัญของการมาตรวจตามนัดอย่างสม่ำเสมอ และสังเกตอาการผิดปกติที่ควรมาพบแพทย์ก่อนวันนัด