Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
วัยสูงอายุ, วริศดา พุกแก้ว, และพระพรหมบัณฑิต. (2563). การเสริมสร้างคุณภาพช…
วัยสูงอายุ
พัฒนาการทางร่างกาย
ในวัยสูงอายุร่างกายเกิดการเปลี่ยนแปลงในทุกระบบในลักษณะเสื่อมถอย การเปลี่ยนแปลงภายนอก
- ผิวหนังเหี่ยวย่นมีจุดตกกระเพิ่มขึ้น ผมจะบางและจะเปลี่ยนเป็นสีเทาหรือสีขาว หลังโกง การเคลื่อนไหวเชื่องช้า พละกำลังน้อยลง
- อวัยวะเกี่ยวกับการรับความรู้สึก ดูเหมือนหน้าที่ได้รับความรู้สึกจะเป็นอวัยวะหนึ่งที่เสื่อมเป็นอันดับแรกในระยะเริ่มชรา ผนังเส้นโลหิตแดงในหูจะแข็งตัวทำให้ได้ยินเสียงไม่ชัดเจน เสียงที่มักไม่ได้ยินก่อนคือเสียงแหลมหรือเสียงที่มีความถี่สูง
- เสียง การเปลี่ยนแปลงของเสียงมีสาเหตุหนึ่งมาจากการแข็งตัวและการขาดความยืดหยุ่นของกระดูกอ่อนบริเวณกล่องเสียงทำให้มีน้ำเสียงสูงแต่ไม่มีพลังและเปลี่ยนแปลงได้น้อย
- ฟัน ฟันธรรมชาติในผู้สูงอายุจะเปลี่ยนไป โดยเฉพาะส่วนมากมักจะมีเหงือกร่น รากฟันโพล่พ้นขอบเหงือก ซึ่งอาจทำให้มีอาการเสียวหรือผุได้ง่าย
- ภาวะสมดุลร่างกาย โดยปกติร่างกายของมนุษย์จะพยายามปรับอุณหภูมิและสภาพทางชีวเคมีให้เกิดความสมดุลตลอดเวลา
- ระบบประสาท เซลล์ประสาทจะมีอายุได้นาน แต่เมื่อมีอาการเสื่อมสลายแล้ว จะไม่มีการแทนทีใหม่ อัตราการเสื่อมสลายหรือการตายของเซลล์ประสาทโดยเฉลี่ยมีประมาณ 1 ต่อปีหลังอายุ 50 ปีไปแล้ว
- กระดูกกระดูกในผู้สูงอายุและผุกร่อน เป็นผลให้กระดูกหักได้ง่าย
- กล้ามเนื้อ กล้ามเนื้อจะเล็กและลีบลง จะมีไขมันเข้าไปแทรกในกล้ามเนื้อ
- ระบบทางเดินอาหาร อาหารที่ทานเข้าไปจะย่อยและดูดซึมได้ช้าลง
- ระบบการไหลเวียนโลหิต ผนังเส้นโลหิตแดงแข็งและขาดความยืดหยุ่น
การส่งเสริมพัฒนาการ
- ออกกำลังกายทุกส่วนสัด กระตุ้นจังหวะการเต้นของหัวใจ ผู้สูงอายุควรเคลื่อนไหวออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ ออกกำลังกายอย่างเหมาะสม มีหลากหลายวิธี โดยออกกำลังกายอย่างน้อยสัปดาห์ละ 2-3 ครั้ง ๆ ละ 20-30 นาที เพื่อช่วยให้ร่างกายแข็งแรง
- หมั่นไปตรวจสุขภาพประจำปีอย่างสมม่ำเสมอ
- นอนหลับใหเ้พียงพออย่างน้อยวันละ 8 ชั่วโมง
- รับประทานอาหารให้หลากหลาย ได้สัดส่วนเพียงพออิ่ม ครบ 5 หมู่ เน้นอาหารย่อยง่ายและสะอาด อาหารที่ควรหลีกเลี่ยง เช่น อาหารที่มีไขมันสูง หวานจัด เค็มจัด และเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์
- ฝึกการขับถ่ายให้เป็นเวลา เลือกรับประทานอาหารที่ย่อยง่าย ผัก ผลไม้ ดื่มน้ำมากๆ และสังเกตลักษณะอุจจาระที่ผิดปกติ
-
พัฒนาการด้านสังคม
-
การส่งเสริมพัฒนาการ
- การใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ด้วยการทํากิจกรรมต่างๆที่ชื่นชอบ เช่น การทํางานอดิเรกต่างๆที่เหมาะสมกับวัย และสภาพร่างกายของตนเอง เช่น การปลกูต้นไม้ การเลี้ยงสัตว์เลี้ยง การสวดมนต์ การฟังเพลง การเขียนหนังสือ การอ่านหนังสือ
- ผู้สูงอายุที่มีความสุขต้องสามารถปรับตัวให้เข้ากับสิ่่งแวดล้อมที่ตนเองอยู่ได้อย่างเหมาะสม เช่น การปรับตัวเพื่อเตรียมรับสภาพร่างกายที่เริ่ม
เสื่อมโทรมลง การปรับตัวยอมรับภาวะความเจ็บป่วยที่อาจเกิดขึ้น
- การ
บำเพ็ญประโยชน์ต่อสังคม เป็นจิตอาสา
- การรวมกลุ่มกันทำให้ผู้สูงอายุได้ออกมาพบปะ พูดคุย ทำ
กิจกรรมต่าง ๆ ร่วมกันอันเป็นประโยชน์ต่อสังคม ชุมชน
พัฒนาการด้านสติปัญญา
-
การส่งเสริมพัฒนาการ
- การฝึกอบรมเจริญปัญญา เพื่อสร้างความรู้ ความคิด ความเข้าใจ ให้รู้จักคิดพิจารณาอย่างมีเหตุผล แก้ปัญหาด้วยปัญญา
- ฝึกรู้จักคิดด้วยเหตุด้วยผล
มองทุกอย่างไปตามเหตุและปัจจัย ไม่มีอคต
วริศดา พุกแก้ว, และพระพรหมบัณฑิต. (2563). การเสริมสร้างคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุด้วยหลักพุทธสันติวิธี. วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์ มจร, 8, 757-759. ค้นเมื่อ 22 พฤษภาคม 2564, จาก file:///C:/Users/USER/Downloads/240597