Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์ - Coggle Diagram
ภาวะโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์
ภาวะครรภ์เป็นพิษก่อนระยะชัก
(Preeclampsia)
การประเมินความรุนแรง
ไม่รุนแรง
Diastolic BP < 110 mmHg
Systolic BP < 160 mmHg
การทำงานของตับผิดปกติ: สูงเล็กน้อย
รุนแรง
Diastolic BP ≥ 110 mmHg
Systolic BP ≥ 160 mmHg
ปวดศีรษะ
อาการทางสายตา
ปวดใต้ลิ้นปี่และชายโครงขวา
ปัสสาวะออกน้อย
การทำงานของไตผิดปกติ : เพิ่มสูงขึ้น
การทำงานของตับผิดปกติ: สูงมาก
อาการอาการแสดง
ปวดศีรษะส่วนหน้า
การมองเห็นผิดปกติ
ปวดใต้ชายโครงขวา
จุกแน่นใต้ลิ้นปี่
preeclampsia without
severe features
การรักษา
ตรวจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง
บันทึก intake และ output และชั่งน้ำหนักทุก 2 วัน
ให้นอนพักประเมินความดันโลหิตทุก 4 ชั่วโมง
ซักประวัติและตรวจร่างกายอย่างละเอียด
ติดตามสังเกตอาการและอาการแสดงทุกวัน
พิจารณาให้ยุติการตั้งครรภ์
มีการเปลี่ยนแปลงเป็น preeclampsia with severe features
ยืนยันด้วย BPP ผลเป็น non-reassuring fetal testing
อายุครรภ์ตั้งแต่ 34 สัปดาห์ ร่วมกับอาการเจ็บครรภ์
การพยาบาล
ดูแลให้นอนพักบนเตียงในท่านอนตะแคงซ้าย
ประเมินสัญญาณชีพทุก 4 ชั่วโมง
ติดตามประเมินผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการและการตรวจพิเศษ
เฝ้าระวัง ติดตาม อาการและอาการแสดง
บันทึกสารน้ำเข้าและออกจากร่างกายและชั่งน้ำหนัก
preeclampsia with
severe features
การรักษา
ให้สารน้ำประเภท crystalloid
หรือสารละลายเกลือแร่
หลีกเลี่ยงการใช้ยาขับปัสสาวะ
ประเมินความดันโลหิตทุก 15 นาที
ให้ยา magnesium sulfate (MgSO4)
ให้ยาลดความดันโลหิตเมื่อ systolic BP ≥ 160 mmHg
ห้ามให้ยายับยั้งการเจ็บครรภ์คลอด
ตรวจ NST ทุกวัน
การพยาบาล
ประเมินสัญญาณชีพทุก 1 ชั่วโมง
ดูแลให้ยาป้องกันชัก MgSO4
อาการร้อนบริเวณที่ฉีด
การหายใจทุก 1 ชั่วโมง
DTR เป็นระยะทุก 2-4 ชั่วโมง
ปริมาณปัสสาวะทุก 1 ชั่วโมง
ดูแลให้ยาลดความดันโลหิต
ประเมินสัญญาณชีพทุก 5-15 นาที
ส่งเสริมการขับสารน้ำออกจากร่างกาย
เฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อน
ภาวะครรภ์เป็นพิษระยะชัก
(eclampsia)
อาการอาการแสดง
ระยะก่อนชัก
กระสับกระส่าย
ตามองนิ่งอยู่กับที่
ศีรษะหมุนไปด้านหนึ่งจนตึง
รูม่านตาขยาย
ระยะเริ่มแรกของอาการชัก
กล้ามเนื้อบริเวณใบหน้าและมุมปากกระตุก
ริมฝีปากเบี้ยว
ระยะชักเกร็ง
เกร็งกล้ามเนื้อทั่วร่างกาย
ระยะชักกระตุก
กล้ามเนื้อกระตุกทั่วร่างกายอย่างแรง
ระยะหมดสติ
นอนนิ่งไม่เคลื่อนไหวอยู่ในสภาพหมดแรง
การรักษา
ควบคุมการชักและป้องกันการชักซ้ำ
ให้ยาลดความดันโลหิตเมื่อ systolic BP ≥ 160 mmHg
ตรวจสอบภาวะ oliguria หรือ anuria
เฝ้าระวังการตกเลือดหลังคลอด
ให้ magnesium sulfate ต่อไปจนครบ 24 ชั่วโมงหลังคลอด
การพยาบาล
ใส่ oral airway หรือ mouth gag
ป้องกันไม่ให้กัดลิ้น
จัดให้นอนตะแคง ใส่ไม้กั้นเตียง
ให้ออกซิเจนขณะชัก
ดูแลให้ได้รับยาระงับชัก
ประเมินสัญญาณชีพทุก 1 ชั่วโมง
งดอาหารและน้ำ
ดูแลป้องกันการตกเลือดหลังคลอด
พยาธิกำเนิด
ระยะที่ 1 ระยะก่อนแสดงอาการ
ระยะที่เกิดความผิดปกติที่รก
ระยะที่ 2 ระยะแสดงอาการ
รกที่ขาดออกซิเจนจะมีการหลั่งสารต่างๆ ออกมาในกระแสเลือด
เกิดความผิดปกติในการทำหน้าที่ของเนื้อเยื่อบุโพรงหลอดเลือด
พยาธิสรีรภาพ
ระบบไต
(renal system)
ปริมาณการไหลเวียนที่ไตลดลง
การทำลายของชั้นเยื่อบุหลอดเลือดในไต
ระบบหัวใจและปอด
(cardiopulmonary system)
พิษที่รุนแรงจะมี plasma albumin ลดลง
ระบบเลือดและการแข็งตัวของเลือด
(hematologic and coagulation system)
ภาวะเกล็ดเลือดต่ำเฉียบพลัน
เกิดจากกลไกทางระบบภูมิคุ้มกัน
ระบบตับ
(hepatic system)
เกิด generalized vasoconstriction
hepatic ischemia
ระบบประสาท
(neurological system)
เยื่อบุหลอดเลือดถูกทำลาย
แตกของหลอดเลือดฝอย
ระบบการมองเห็น
(visual system)
การหดรัดตัวของหลอดเลือดที่จอตา
รก และมดลูก
(placenta and uterus)
การหดรัดตัวของหลอดเลือด
spiral arteriole ในdecidual
ผลกระทบต่อภาวะสุขภาพ
สตรีตั้งครรภ์
น้ำท่วมปอด หรือปอดบวมน้ำ
ไตวายเฉียบพลัน
เกล็ดเลือดต่ำ
หลอดเลืออุดตัน
หัวใจล้มเหลว หัวใจขาดเลือด
ทารก
ทารกโตช้าในครรภ์
ขาดออกซิเจน เลือดเป็นกรด
คลอดก่อนกำหนด แท้งหรือเสียชีวิตในครรภ์
การประเมินและวินิจฉัย
การซักประวัติ
การตรวจร่างกาย
ความดันโลหิต
ระดับรีเฟล็กซ์
อาการบวม
บวมกดบุ๋ม
ตรวจทางห้องปฏิบัติการ
CBC
platelet count
liver function test
renal function test
cogulation profile
การตรวจพิเศษ
Angiotensin sensitivity test
Roll over test
Isometric exercise
Doppler velocimetry
Specific blood testing
Mean arterial blood pressure (MAP)
ยาที่ใช้ในการรักษา
ยาป้องกันการชัก
Magnesium Sulfate (MgSO4)
ออกฤทธิ์ทำให้กล้ามเนื้อเรียบคลายตัว
ขับออกทางไต
ยาลดความดันโลหิต
Hydralazine
Nepresol®
Apresoline®
Labetalol
Avexor®
Nifedipine
Adalat®