Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
4.การตรวจการฉีกขาดของช่องคลอด การคาดคะเนจำนวนเลือดหลังคลอดและความหมายของกา…
4.การตรวจการฉีกขาดของช่องคลอด การคาดคะเนจำนวนเลือดหลังคลอดและความหมายของการตกเลือดหลังคลอด การซ่อมแซมฝีเย็บ
การประเมินสัญญาณชีพหลังคลอด การพยาบาลในระยะที่ 4 ของการคลอดปละภาวะแทรกซ้อน 2 ชั่วโมงหลังคลอด
-
-
3.การซ่อมแซมฝีเย็บ
-
ชนิดของการเย็บแผล
- Interrupted simple suture
การเย็บแผลทั้งสองข้างให้มาบรรจบกันตรงกลางแล้วผูก
ปม การเย็บควรใช้เข็มตักให้ห่างจากขอบแผลประมาณ1เซนติเมตร และลึกลงข้างใต้แผลประมาณ1 ซม. หรือมากกว่า แล้วแต่ความลึกของแผล เพื่อป้องกันไม่ให้เหลือช่องว่างใต้แผล การเย็บวิธีนี้ทำได้ง่ายและเร็ว ใช้เย็บเยื่อบุผนังช่องคลอด กล้ามเนื้อของช่องคลอด และฝีเย็บ
- Horizontal figure-of-eight suture (การเย็บรูปเลข 8 )
-
3 Continuous non-locking
ใช้ไหมเส้นเดียวเย็บตลอดความยาวของแผลแล้วจึงผูกปม วิธีนี้ทำได้ง่าย เสร็จแล้ว ใช้เย็บเนื้อเยื่อที่ไม่ต้องการแรงยึดมากนัก เช่น เนื้อเยื่อ และไขมันใต้ผิวหนัง เป็นต้น
4 Continuous lock
วิธีเย็บคล้ายกับแบบ simple suture แต่ใช้ไหมเส้นเดียวกันเย็บตลอด ความยาวของแผล ใช้เย็บในรายที่ต้องการให้ส่วนที่เย็บตึงมากกว่าวิธีที่ 3 เป็นการช่วยให้เลือดหยุด ใช้เย็บเยื่อบุผนังช่องคลอด กล้ามเนื้อของช่องคลอด และฝีเย็บ
5 Subcuticular stitch
ใช้เย็บชั้นใต้ผิวหนัง เริ่มต้นจากมุมแผล แล้วใช้เข็มแทงใต้ผิวหนังเข้าไป ห่างจากขอบอย่างน้อย 0.3 เซนติเมตร เข้าและออกในขอบแผลทั้งสองข้าง ที่ระดับเดียวกันจนถึงมุมแผลอีกข้าง จึงผูกปม การเย็บวิธีนี้มีข้อดีคือ แผลเล็ก เรียบ สวยงาม แต่มีข้อเสีย คือ ถ้าแผลไม่ตื้นพอจะทาให้มี ช่องว่างใต้ผิวหนังมาก อาจเกิดก้อนเลือดคั่งข้างในและแผลไม่ติด
-