Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
วัยกลางคน, นางสาวสุปรีญา บุญประดิษฐ เลขที่ 127 รหัสนักศึกษา 63103301127 -…
วัยกลางคน
-
พัฒนาการด้านสติปัญญา
-
-
Horn & Donalson (1980) ได้กล่าวว่าวัยผู้ใหญ่ตอนกลางเป็นวัยที่ทักษะความสามารถด้าน Crystallized เพิ่มขึ้น แต่สติปัญญาในด้าน Fluid ลดลง
พัฒนาการทางด้านจริยธรรม
การส่งเสริมพัฒนาการ
การมีเหตุผลเชิงจริยธรรมของบุคคลในแต่ละขั้นของพัฒนการจะมากหรือน้อยขึ้นกับระดับการรู้คิดของบุคคล ค่านิยม ความคิด ความเชื่อของบุคคลนั้นๆ สิ่งสำคัญต้องมีการสร้างค่านิยมและปลูกฝั่งจิตสำนึก จิตสาธารณะ ตั้งแต่ระดับครอบครัว ชุมชน โรงเรียน สังคมที่ทำงาน และค่อยๆพัฒนา ซึ่งหากบุคคลมีพัฒนาการด้านต่างๆที่เหมาะสมในแต่ละขั้นพัฒนาการของชีวิต จะทำให้บุคคลนั้นสามารถมีพัฒนาการด้านจริยธรรมที่เหมาะสมตามช่วงวัย
Kolberg กล่าวว่า จริยธรรมเป็นสิ่งที่สังคมกำหนดขึ้น เพื่อต้องการให้สมาชิกในสังคมมีพฤติกรรมตามนั้น ซึ่งวัยผู้ใหญ่ถือว่าพัฒนาการด้านจริยธรรมอยู่ในขั้นที่ 3 คือ ระดับเหนือกฏเกณฑ์ทาง์น สังคม แบ่งเป็น 2 ระดับย่อย
สัญญาสังคมหรือหลักการทำตามคำมั่นสัญญา เน้นมาตรฐานที่คนส่วนใหญ่ยอมรับเป็นสิ่งที่ถูกต้องและควรปฏิบัติ เช่น การช่วยเหลือคนยากจน การแต่งงานตามประเพณี ถูกผิดขึ้นอยู่กับค่านิยมและความคิดส่วนบุคคล
คุณภาพธรรมสากล เป็นความถูกต้องที่เป็นสากล คือ ความถูกต้องที่ได้รับการยอมรับจากคนส่วนมากและทั่วโลก เช่น หลักมนุษยธรรม ความยุติธรรม สิทธิมนุษย์ชน ความเสมอภาค เป็นต้น
พัฒนาการด้านจิตสังคม
ระยะผู้ใหญ่ (Adult period) อายุ 40-60 ปี : ขั้นการอนุเคราะห์เกื้อกูลกับการพะว้าพะวงแต่ตัวเอง (Generativity vs Self-Absorption) เป็นระยะที่บุคคลหันมาสนใจกับโลกภายนอก ริเริ่มสร้างสรรค์งานต่างๆ เพื่อสังคม คิดถึงผู้อื่น ไม่โลภหรือเห็นแก่ได้ฝ่ายเดียว บุคคลที่ไม่สามารถทำเช่นนี้ได้จะมีความรู้สึกคิดถึง หมกมุ่นอยู่กับตนเอง เป็นคนที่เอาตนเองเป็นศูนย์กลาง มีชีวิตอย่างไร้ความสุข
การส่งเสริมพัฒนาการ
วัยกลางคนจึงควรหาสิ่งยึดเหนี่ยวทางจิตใจ เพื่อทำใจ ปล่อยวาง ไม่ยึดติดกับเป้าหมายหรือความสำเร็จมากเกินไป เช่น เข้าร่วมกิจกรรมทางศาสนา ศึกษาปรัชญาชีวิต และ ค้นหาสัจธรรมของชีวิต
-
ไม่เปรียบเทียบตนเองกับบุคคลอื่น โดยเฉพาะคนที่เขาประสบความสำเร็จ เพราะความสำเร็จของบุคคลมีปัจจัยเงื่อนไขที่แตกต่างกัน
-
พัฒนาการด้านร่างกาย
ร่างกายจะเริ่มมีความเสื่อมถอยในเกือบทุกระบบของร่างกาย ผิวหนังจะเริ่มเหี่ยวย่น หยาบ ไม่เต่งตึง ผมเริ่มร่วงและมีสีขาว น้ำหนักตัวเพิ่มขึ้นจากการสะสมไขมันใต้ผิวหนังมากขึ้น ระบบสัมผัส ได้แก่ ความสามารถในการมองเห็นเปลี่ยนแปลงส่วนใหญ่สายตาจะยาวขึ้น บางคนจะมีอาการหูตึงเนื่องจากความเสื่อมของเซลล์ การลิ้มรสและการได้กลิ่นเปลี่ยนแปลงไป อวัยวะภายในร่างกาย
-
-