Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับแผนพัฒนาการศึกษาแห่งชาติาการศึกษาแห่งชาติ - Coggle…
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับแผนพัฒนาการศึกษาแห่งชาติาการศึกษาแห่งชาติ
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ความสำคัญ
พัฒนาเป็นขั้นตอนเพื่อให้คนส่วนใหญ่พออยู่พอกิน
เกษตรทฤษฎีใหม่
อัญเชิญ ปศพ.เป็นปรัชญาชี้นำการพัฒนา
สังคมอยู่เย็นเป็นสุขร่วมกัน
บริหารราชการแผ่นดินอย่างยั่งยืน
ขจัดความยากจน
พัฒนาศักยภาพของชุมชน
ปรับปรุงมาตรฐานธรรมาภิบาลของภาครัฐ
ปลูกฝังจิตสำนึก
กรอบแนวคิด
เป็นปรัชญาที่ชี้ถึงแนวทางการดำรงอยู่และปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับในการพัฒนาและบริหารประเทศให้ดำเนินไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อให้ก้าวทันต่อยุคโลกาภิวัตน์
เป้าหมาย
มุ่งให้เกิดความสมดุลและพร้อมต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและกว้างขวาง ทั้งทางวัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรม จากโลภายนอกได้เป็นอย่างดี
หลักการ
ความพอเพียง หมายถึงความพอประมาณ ความมีเหตุผล การสร้างภูมิคุ้มกันที่ดีในตัวพอสมควร ต่อการมีผลกระทบใดๆ อันเกิดการเปลี่ยนแปลงทั้งภายนอกและภายใน
เงื่อนไขพื้นฐาน
อาศัยความรอบรู้ รอบคอบ และความระมัดระวังอย่างยิ่งในการนำวิชาการต่างๆมาใช้ในการวางแผนและการดำเนินการทุกขั้นตอน
เสริมสร้างจิตใจของคนในชาติให้มีจิตสำนึกในคุณธรรม ความซื่อสัตย์สุจริต และให้มีความรอบรู้ที่เหมาะสม
นิยามความพอเพียง
ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับความพอเพียงนั้นจะต้องเป็นไปอย่างมีเหตุผล ถูกต้องตามหลักความเป็นจริง
การมีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว หมายถึง การไม่ประมาท ไม่เสี่ยง มีความรอบคอบ เตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงต่างๆ
ความพอประมาณ หมายถึง การคิด พูด ทำอย่างประมาณตนบนพื้นฐานความเป็นจริงให้เกิดความพอดี พอเหมาะ พอควร โดยไม่สร้างความเดือดร้อนให้กับตนเองและผู้อื่น
เงื่อนไขเพื่อให้เกิดความพอเพียง
เงื่อนไขความรู้
เงื่อนไขคุณธรรม
การขับเคลื่อนด้านการศึกษา
ยุทธศาสตร์
การจัดหลักสูตรการเรียนการสอน
จัดทำหน่วย/แผนการเรียนรู้
จัดกิจกรรมการเรียนรู้
กำหนดมาตรฐานการเรียนรู้ชั้นปี
จัดทำสื่อ/แหล่งเรียนรู้
จัดทำเครื่องมือวัด/ประเมินผล
เกณฑ์การผ่านช่วงชั้น
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
กิจกรรมนักเรียน
แนะแนว
การบริหารสถานศึกษา
ปลูกฝังให้เป็นวิถีชีวิต
สร้างวัฒนธรรมองค์กร
ชุมชนสัมพันธ์
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน
มีความรู้ และทักษะพื้นฐานในการดำเนินชีวิตตาม ปศพ.
ปฏิบัติตน และดำเนินชีวิตตาม ปศพ.
มีความรู้ความเข้าใจ และตระหนักในความสำคัญของการดำเนินชีวิตตาม ปศพ.
แนวทางการนำหลัก ปศพ. ไปใช้ในโรงเรียน
กำหนดเป็นนโยบาย
นำหลักการทรงงานมาปรับใช้
บริหารทรัพยากรตามหลัก ปศพ.
จัดทำหน่วย/แผนการเรียนรู้
สร้างบรรยากาศที่ส่เสริมการเรียนรู้
การเขียนแบบแผนบูรณาการ
ยุทธศาสตร์การสอนของครูสอดแทรกคุณธรรม
เน้นให้เด็กแสดงความคิดเห็นอย่างมีส่วนร่วม
ยึดสาระสังคมเป็นหลัก
ยึดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการเรียนรู้
แนวทางการบูรณาการโดยเน้นเด็กเป็นสำคัญ
จัดกิจกรรมที่หลากหลาย เน้นกระบวนการเรียนรู้
เรียนรู้จากธรรมชาติ การทำงานเป็นกลุ่ม
เรียนรู้จากสถานการณ์จริง นักเรียนมีส่วนร่วม
สร้างจุดเด่นซ่อมจุดด้อย ฝึกการพึ่งพาตนเองตามวัย
ปลูกฝังคุณธรรม สร้างวินัย มีจินตนาการ
แผนการขับเคลื่อนด้านการศึกษา
แนวทางการขับเคลื่อน ปศพ ด้านการศึกษา
พัฒนาบุคลากร/เครือข่าย
เชื่อมโยงเครือข่าย/ขยายผล
พัฒนาสื่อการเรียนรู้เพื่อเป็นเครื่องมือในการขับเคลื่อน
ติดตามและประเมินผลเพื่อการพัฒนา
สร้างแรงจูงใจเพื่อให้เกิดพลวัตรในการขับเคลื่อน
องค์กรหลักในการขับเคลื่อน
อปท.
กทม.
เอกชน
กศน.
สพฐ.
การศึกษาเอกชน
อาชีวศึกษา
การขับเคลื่อนสู่สถานศึกษา
ขยายผลการดำเนินงาน
การบูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การเรียนการสอน
การนำปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การบริหารจัดการ
การเผยแพร่และประชาสัมพันธ์
ประสานความร่วมมือและเชื่อมโยงเครือข่าย
เผยแพร่หลัก ปศพ.
กรอบแนวทางการดำเนินงาน
จัดทำสื่อ ตัวอย่างหน่วยการเรียนรู้ที่บูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การเรียนการสอน
ส่งเสริมสนับสนุนประสานงาน
จัดทำระบบข้อมูลสารสนเทศและเชื่อมโยงเครือข่าย
ติดตามและประเมินผล
ติดตามผลงานในพิื้นที่
ติดตามบุคลากรทางการศึกษา
จัดทำรายงานความก้าวหน้า
ติดตามนักเรียน/นักศึกษา และประชาชน
พัฒนาตัวชี้วัดความพอเพียง