Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะอาเจียนรุนแรง ในระยะตั้งครรภ์
(Hyperemesis gravidarum)
Morning…
ภาวะอาเจียนรุนแรง ในระยะตั้งครรภ์
(Hyperemesis gravidarum)
สาเหตุ
ปัจจัยด้านมารดา
-
-
3 มีพฤติกรรมการบริโภคอาหารไม่เหมาะสมตั้งแต่ก่อนตั้งครรภ์ เช่น รับประทานอาหารที่มีไขมันสูง ขาดวิตามินโดยเฉพาะวิตามินบี 6
-
-
-
ปัจจัยด้านทารก
ทารกมีความผิดปกติเกี่ยวกับโครโมโซม triploidy, trisomy 21 และ ทารกบวมน้ำ (hydrops fetalis)
ผลกระทบต่อการตั้งครรภ์
ผลกระทบต่อทารกในครรภ์
- หากสตรีตั้งครรภ์มีน้ำหนักลดลงมาก จะทำให้ทารกในครรภ์เติบโตช้า และน้ำหนักแรกคลอดน้อยกว่าปกติ
- หากสตรีตั้งครรภ์อาการรุนแรงมาก เกิดภาวะเป็นกรดในร่างกาย อาจทำให้ทารกมีอาการทางสมอง เกิดภาวะ Wernicke’s encephalopathy
- อาจทำให้แท้ง คลอดก่อนกำหนด ทารกอาจตายคลอด และทารกพิการ (Fetal anomalies) จากการขาดสารอาหารได้
ผลกระทบต่อมารดา
- ทำให้ร่างกายเกิดการขาดน้ำ
-
-
-
-
- เกิดภาวะความเป็นกรดในร่างกาย เกิดภาวะกรดในกระแสเลือด เนื่องจากการสูญเสียด่างในน้ำย่อยไปกับการอาเจียน ทำให้มีผลกระทบต่อระบบสมองส่วนกลาง มีอาการกระสับกระส่าย ไม่รู้สึกตัว หมดสติ
- ถ้ามีอาการรุนแรงมาก ร่างกายเสียสมดุลของอิเลคโตรลัยท์ เกิดภาวะ hypokalemia, alkalosis กล้ามเนื้ออ่อนแรง
- เกิดภาวะขาดสารอาหาร มีผลกระทบต่อตับ ค่า SGOT เพิ่มขึ้น มีอาการของการขาดวิตามิน
การวินิจฉัย
- การซักประวัติ ตรวจร่างกาย ประเมินจากอาการและอาการแสดงของ การอาเจียนรุนแรง การขาดสารน้ำขาดสารอาหาร น้ำหนักตัว และสภาพจิตใจ
-
-
อาการเเละ
อาการเเสดง
-
2 หากอาการอาเจียนไม่รุนแรงมาก สามารถทำกิจวัตรประจำวันได้ น้ำหนักจะลดลงเล็กน้อย ไม่มีอาการขาดน้ำและสารอาหาร
-
เเนวทางการรักษา
- หากอาการไม่รุนแรงสามารถรับประทานอาหารได้ แนะนำให้รับประทานอาหารที่ช่วยทดแทนเกลือแร่ที่สูญเสียไปกับการอาเจียน
- หากอาการรุนแรงมาก ควรงดอาหารและน้ำทางปาก และรีบแก้ไขภาวะขาดน้ำ ความไม่สมดุลของเกลือแร่ และความเป็นกรด-ด่างของเลือด
-
- ควรวินิจฉัยแยกโรคภาวะอาเจียนอย่างรุนแรงจากอาการของโรคอื่นๆ
-
- กรณีที่รักษาด้วยวิธีต่างๆ แล้วอาการไม่ดีขึ้น จะต้องทำการวินิจฉัยเพื่อค้นหาสาเหตุของโรคที่แท้จริง เพื่อทำการรักษาอย่างเหมาะสม
- หลีกเลี่ยงสิ่งแวดล้อม และสิ่งกระตุ้นที่ทำให้คลื่นไส้อาเจียน
การพยาบาล
การพยาบาลสตรีตั้งครรภ์ที่ได้รับการรักษาเเบบผู้ป่วยนอก
-
-
-
-
-
-
-
-
-
การพยาบาลสตรีตั้งครรภ์ที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล
1 ดูแลให้งดอาหารและน้ำทางปาก อย่างน้อย 24-48 ชั่วโมง เพราะเป็นสิ่งที่กระตุ้นให้เกิดอาการคลื่นไส้อาเจียน
-
-
-
-
6 บันทึกปริมาณสารน้ำเข้าออกจากร่างกาย โดยเฉพาะ urine output ไม่ควรน้อยกว่า 1,000 ml. ต่อวัน
-
-
9 ในรายที่มีอาการรุนแรงมาก จำเป็นต้องให้อาหารทางสายยาง หรือให้สารอาหารทดแทนทางหลอดเลือดดำ โดยเป็นอาหารเหลวที่มีแคลอรี่และวิตามินสูง
-
-
-
-
-