Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะอาเจียนรุนแรงในระยะตั้งครรภ์ (Hyperemesis gravidarum)…
ภาวะอาเจียนรุนแรงในระยะตั้งครรภ์ (Hyperemesis gravidarum) อาการแพ้ท้องรุนแรงพบตั้งแต่ไตรมาสแรกและต่อเนื่องไปตลอดการตั้งตรรภ์
สาเหตุ
ปัจจัยด้านมารดา
3.มีพฤติกรรมการบริโภคอาหารไม่เหมาะสมตั้งแต่ก่อนตั้งครรภ์เช่น รับประทานอาหารที่มีไขมันสูง ขาดวิตามินบางชนิดโดยเฉพาะวิตามินบี 6
4.มีความผิดปกติของระบบทางเดินอาหาร
เช่น กระเพาะอาหารหรือลำไส้อักเสบ ถุงน้ำดีอักเสบ ตับอ่อนอักเสบ ไส้ติ่งอักเสบ ลำไส้อุดตัน
-
5.กระเพาะอาหารมีการเคลื่อนไหวลดลง จากการเพิ่มขึ้นของฮอร์โมนโปรเจสเตอร์โรน (progesterone) ขณะตั้งครรภ์ ทำให้หลั่งกรดไฮโดรคลอริค (hydrochloric acid: HCI) ลดลง
1.การตั้งครรภ์ที่มีระดับฮอร์โมนเอสโตรเจน (estrogen)สูงหรือมีระดับhuman chorinoic gonadotropin (hCG) เพิ่มมากกว่าปกติ
เช่น การตั้งครรภ์แฝด มีภาวะhyperthyroidism
ขณะตั้งครรภ์ การตั้งครรภ์ไข่ปลาอุก(hydatidiform moles)
-
ปัจจัยด้านทารก
ทารกมีความผิดปกติเกี่ยวกับโครโมโซม triploidy, trisomy 21 และ
ทารกบวมน้ำ (hydrops fetalis)
อาการและอาการแสดง
- หากอาการอาเจียนไม่รุนแรงมาก สามารถทำกิจวัตรประจำวันได้ตามปกติน้ำหนักจะลดลง
เล็กน้อย ไม่มีอาการขาดน้ำและสารอาหาร
- มีอาการคลื่นไส้อาเจียนอย่างรุนแรง เป็นระยะเวลานานอาจตลอดทั้งวัน อาการรุนแรงอาจเพิ่ม
มากขึ้น จนไม่สามารถยับยั้งได้
- หากอาการอาเจียนรุนแรงมากขึ้น คือมีอาการอาเจียน 5-10 ครั้งต่อวัน หรือมากกว่า เป็นเวลา
หลายวัน
มีอาการ
เกิดความไม่สมดุลของร่างกาย เกิดภาวะ acidosis และ alkalosis และความไม่สมดุลของเกลือแร่ (electrolyte imbalance)
-
-
-
-
-
ผลกระทบต่อการตั้งครรภ์
ผลกระทบต่อมารดา
3.เกิดภาวะความเป็นกรดในร่างกาย เกิดภาวะกรดในกระแสเลือด เนื่องจากการสูญเสียด่างในน้ำย่อยไปกับการอาเจียน
-
-
5.อาการรุนแรงมากร่างกายเสียสมดุลของอิเลคโตรลัยท์เกิดภาวะ hypokalemia,alkalosis กล้ามเนื้ออ่อนแรง
- ทำให้ร่างกายเกิดการขาดน้ำ ทำให้อุณหภูมิสูงขึ้น ชีพจรเบาเร็วและความดันโลหิตต่ำลง
-
-
8.การแข็งตัวของเลือดเสียไป มีเลือดออกตามไรฟันจุดเลือดออกทั่วไปทั่วสมองทำให้ซึมและหมดสติและอาจ
เสียชีวิตได้จากภาวะ hepatic coma
ผลกระทบต่อทารก
2.สตรีตั้งครรภ์อาการรุนแรงมาก เกิดภาวะเป็นกรดในร่างกาย อาจทำให้ทารกมีอาการทางสมอง เกิดภาวะ Wernicke’s encephalopathy (เป็นโรคที่มีอาการเฉียบพลันทางระบบประสาทซึ่งเกิดจากภาวะขาดวิตามิน B1)
-
-
การวินิจฉัย
การตรวจเลือด พบฮีมาโตคริตสูง BUN สูง โซเดียมต่ำ โปแตสเซียมต่ำ คลอไรด์ต่ำ SGOT
สูง LFT สูง และโปรตีนในเลือดต่ำ
การตรวจปัสสาะ พบว่ามีความถ่วงจำเพาะสูง ไข่ขาวในปัสสาวะเพิ่มขึ้น พบคีโตนในปัสสาวะถ้ามีอาการรุนแรงมากอาจพบน้ำดีในปัสสาวะได้
การตรวจพิเศษเพื่อค้นหาสาเหตุของความผิดปกติ ได้แก่ การตรวจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง
และการเจาะตรวจน้ำคร่ำ
-
-
-
-
- การซักประวัติตรวจร่างกาย ประเมินจากอาการและอาการแสดงของการอาเจียนรุนแรง การขาดสารน้ำขาดสารอาหาร น้ำหนักตัว และสภาพจิตใจ
แนวทางการรักษา
การรักษาด้วยยา
วิตามิน
วิตามินบี 6 (Pyridoxine) 10-25 mg. 1 เม็ด รับประทาน 3-4 ครั้งต่อวัน โดยขนาดสูงสุดในสตรีตั้งครรภ์ไม่ควรเกิน 200 mg/วัน
ยาคลายกังวล และยานอนหลับ
Diazepam 2 mg. 1 เม็ด ครั้งต่อวัน รับประทาน 2 ครั้งต่อวันและ/หรือ Diazepam 5 mg. 1 เม็ด รับประทานก่อนนอน
-
ให้คำแนะนำหากอาการดีขึ้น
-
ให้รับประทานอาหารอ่อน ครั้งละน้อยแต่บ่อยครั้งทุก 2-3 ชั่วโมงควรรับประทานอาหารที่มีโปรตีนสูง ขนมปังกรอบ
-
หลีกเลี่ยงสิ่งแวดล้อม และสิ่งกระตุ้นที่ทำให้คลื่นไส้อาเจียน เช่น กลิ่น ความร้อน ความชื้น เสียงดัง แสงไฟกะพริบ
หากอาการไม่รุนแรงสามารถรับประทานอาหารได้แนะนำให้รับประทานอาหารที่ช่วยทดแทน
เกลือแร่ที่สูญเสียไปกับการอาเจียน
กรณีที่รักษาด้วยวิธีต่างๆ แล้วอาการไม่ดีขึ้น จะต้องทำการวินิจฉัยเพื่อค้นหาสาเหตุของโรคที่แท้จริง เพื่อทำการรักษาอย่างเหมาะสม
-
หากอาการรุนแรงมาก ควรงดอาหารและน้ำทางปากและรีบแก้ไขภาวะขาดน้ำ ความไม่สมดุลของเกลือแร่และความเป็นกรด-ด่างของเลือด โดยการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ 5% D/NSS 1,000 ml. ทางหลอดเลือดดำ (ภาวะขาดสารอาหารรุนแรง 82ควรได้รับ parenteral nutrition therapy โดยต้องได้แคลอรี่มากกว่า 2,000 แคลอรี่ต่อวัน)
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-