Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พยาธิวิทยาระบบทางเดินอาหาร - Coggle Diagram
พยาธิวิทยาระบบทางเดินอาหาร
กลไกการเกิด อาการเเละอาการเเสดงที่เกิดขึ้นกับความผิดปกติของระบบทางเดินอาหาร
โรคของช่องปาก
ความพิการเเต่กำเนิด
Hera Lip and cleft palate โรคปากเเหว่ง เพดานโหว่ สามาถเกิดได้ตั้งเเต่มารกที่อยู่ในครรภ์มารดา เดือนที่ 2-3ทำให้เกิดการผิดพลาดในการสร้างอวัยวะ
ปากเเหว่ง เกิดขึ้นที่ด้นบนของริมฝีปากในลักษณะช่องว่างเล็กๆ
เพดานโหว่ เป็นภาวะที่เเผ่นกระโหลกศีรษะที่ประกอบเป็นเพดานเเข็ง 2เเผ่นไม่เชื่อมกัน
Esophageal
การอักเสบ
gingivitis เศษอาหารหมักหมมหรือหินปูน พอกอยู่ที่ฟัน ทำให้ เเบคทีเรียเจริญเติบโตดี เกดการอักเสบ
periodonitis เป็นการอักเสบของเนื้อเยื่อที่อยู่รอบฟัน มักเกิดที่เหงือกก่อน ถ้าอักเสบเรื้อรัง อาจทำให้เหงือกร่น เป็นสาเหตุการสูญเสียฟันของผู้สูงอายุ
Dental caries รอยโรคที่ทำลายสาร enamel และ dentine โรคเเทรกซ้อนที่สำคัญคือ Osteomyelitis และ cellulitis
Recurrent herpes labialis เกิดจาก herpes simplex virus ระยะเเรกเป็น ขนาดเล็ก ที่ ริมฝีปาก ร่างกายต้านทานน้อยลง จะเกิดรอยโรคซ้ำบริเวณเดิม
Aphthous ulcer (Canker sore) เป็นเเผลที่เกิดซ้ำในช่องปาก มักเป็นเเผลตื้น ๆ เเผลเดียวหรือหลายเเผลพร้อมกัน คลุมด้วย exudate สีเทารอบๆ เป็นสีเเดง มักหายภายใน 1สัปดาห์
Oral candidiasis Thrush เกิดจากเชื้อรา candida albicans พบในเด็กเล็ก ผู้ที่มีภูมิต้านทานต่ำ ได้รับยา ปฏิชีวนะ ปริเวณอักเสบจะคลุมด้วย fibro - suppurative exudate ที่มีชื้อราปนอยู่
Tonsillitis พบการบวมโตของ tonsil มีสีขาวปกคลุม ภาวะเเทรกซ้อนที่สำคัญคือ peritonsillar abscess เป็นๆหายๆ
โรคของต่อมน้ำลาย
Mumps เกิดจากการติดเชื้อไวรัส กลุ่ม Paramyxovirus เป็นการอักเสบเเบบ acute interstitial inflammation ติดต่อทางน้ำลาย เสมหะ มักพบในเด็กอายุ 5-10 ปี ในชายจะมีอัณฑะอักเสบ ในหญิงจะมีรังไข่อักเสบ อาจมีเยื่อหุ้มสมองอักอักเสบ
การทำงานของระบบ
ทางเดินอาหาร
โครงสร้างของทางเดินอาหาร
ส่วนที่เป็นทางเดินอาหาร
ปาก ทำหน้าที่บดเคี้ยวอาหาร และคลุกเคล้ากับน้ำลายได้เป็นอาหารที่เคี้ยวเเล้ว ก่อนลงสู่ทางเดินอาหาร
คอหอย มีส่วนในการกลืนอาหาร
หลอดอาหาร ส่งอาหารเคี้ยวเเล้วจากคอไปยังกระเพาะ
กระเพาะอาหาร กักเก็บอาหารที่เคี้ยวเเล้วไว้ด้วยการทำงานของน้ำหลั่งกระเพาะที่มีฤทธิ์กัดกร่อนรุนเเรง แล้วจึงส่งไปลำไส้เล็ก ในรูปอาหารกึ่งของเหลว
ลำไส้เล็กส่วนต้น เป็นบริเวณที่อาหารถูกย่อยด้วยการทำงานของเอ็นไซม์ในลำไส้
ลำไส้ใหญ่ การย่อยเเละดูดซึมอาหาร ไเสริมสร้างเนื้อเยื่อสิ้นสุดที่ลำไส้ใหญ่ ดูดซึมน้ำออกจากของเหลว
ลำไส้เล็ก สารอาหารจะถูกดูดซึมเข้าสู่เลือด
ไส้ตรง อยู่ส่วนท้ายของลำไส้ใหญ่ มีหน้าที่เก็บกากอาหาร ก่อนขับออกเป็นอุจจาระ
ต่อมที่เกี่ยวข้องกับการทำงานของ GIT
ต่อมน้ำลาย
ตับอ่อน /ตับ ตับสร้างน้ำดีเพื่อย่อยไขมัน เปลี่ยนสารพิษให้เป็นสารที่ไม่อันตรายต่อร่างกาย
ตับอ่อนซึ่งเป็นเอ็นไซม์ที่จำเป็นต่อการย่อยอาหาร
ฟัน
เคลือบฟัน enamel เป็นส่วนี่เเข็งที่สุด ของฟันมีส่วนประกอบของเเคลเซียม เเละฟอตฟอรัส
เนื้อฟัน dentine เป็นส่วนที่เเข็งน้อยกว่าเคลือบฟัน มีความเเข็งพอๆ กับกระดูกมีการสร้างสลายตลอดเวลา
เคลือบรากฟัน cementum เป็นส่วนของเนื้อเยื่อ ปริทันต์ ที่อยู่ภายในรากฟัน
เหงือก gingiva เนื้อเยื่อที่หุ้มตัวฟัน และกระดูกขากรรไกร