Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระบบประสาท (Nervous System) - Coggle Diagram
ระบบประสาท (Nervous System)
ระบบประสาทเป็นระบบที่ควบคุมการทำงานของ ร่างกายในการตอบสนอง ต่อสิ่งเร้าที่มาจาก ภายนอกทั้งหมด ระบบ ประสาทได้ชื่อว่าเป็นระบบที่ซับซ้อนที่สุดในโลก
หน้าที่ของระบบประสาท
รับความรู้สึก (Sensory) จากตัวกระตุ้นทั้งภายในและภายนอก
วิเคราะห์ข้อมูล (Processing information)
สั่งงานและควบคุมการท างาน (Motor system)
เนื้อเยื่อประสาท (Nervous tissue)
หน้าที่และส่วนประกอบของ
เนื้อเยื่อประสาททำหน้าที่รับความรู้สึกและส่งกระแส ความรู้สึกไปยังส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย
เนื้อเยื่อประสาทประกอบด้วย 2 ส่วน คือ เซลล์ประสาท (nerve cell หรือ neuron)
เซลล์เนื้อเยื่อเกี่ยวพันประสาท (neuroglia)
โครงสร้างของเซลล์ประสาท
ตัวเซลล์ (cell body) เป็นส่วนที่มี นิวเคลียสและไซโตพลาสซึม
เส้นใยประสาท (nerve fiber) คือส่วนที่ เป็นแขนงของไซโต
พลาสซึม (cytoplasmic process)
เส้นใยแอกซอน (axon fiber) ยื่นออกจากตัว เซลล์ บริเวณ axon hillock แขนงของเซลล์ไม่แตกเป็นแขนงย่อย ทำหน้าที่นำกระแสความรู้สึกส่งไปยังเซลล์ประสาทถัดไป
เส้นใยเดนไดรท์ (dendrite fiber) มีจำนวน หลายแขนงและแตกสาขาย่อยขนาดสั้นจำนวนมาก ออกมาจากตัวเซลล์1 เซลล์ เส้นใยเดนไดรท์ทำหน้าที่รับความรู้สึกเข้าสู่ตัวเซลล์
ชนิดเซลล์ประสาท
เซลล์ประสาทขั้วเดียว (unipolar neuron) เซลล์ ประสาทชนิดนี้จะมีตัวเซลล์ยื่นออกเป็นขั้ว (pole) เพียง 1 เส้น พบที่ปมประสาทไขสันหลังและปมประสาทอัตโนมัติ
เซลล์ปธะสาทสองขั้ว (bipolar neuron) มีแขนงยื่นจากตัวเซลล์ 2 เส้น ในบริเวณตรง ข้ามกัน แขนงหนึ่งคือ เดนไดรท์ อีกแขนงเป็น แอกซอน บริเวณที่มี เซลล์ประสาทชนิดนี้ ได้แก่ เซลล์ประสาทที่จอ ตา (retina)
3 เซลล์ประสาทหลายขั้ว (multipolar neuron) มีแขนงของแอกซอน 1 เส้น และมีเดนไดรท์หลายเส้นยื่น ออกมาจากตัวเซลล์ บริเวณ ตัวเซลล์มีลักษณะเป็นรูป สามเหลี่ยมปรามิด เซลล์ ประสาทชนิดนี้พบที่สมอง ส่วนซีรีเบลลัม (cerebellum)
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์เนื้อเยื่อเกี่ยวพันประสาท
. 1 แอสโตรไซท์ (astrocyte) ช่วยพยุงและเชื่อมปลาย ประสาทที่ชำรุด
โอลิโกเดนโดรไซท์ (oligodendrocyte) ช่วยสร้างเยื่อ ไมอีลิน(myelin sheath)
ไมโครเกลีย (microglia) กำจัดสิ่งแปลกปลอม
เซลล์อิแพนไดมา (epandyma cell) พบช่องในสมอง
และไขสันหลัง
เซลล์ชวันน์ (schwann cell) หรือ นิวโรเลมมา (neurolemma) บุอยู่ธอบแอกซอน ทำหน้าที่สร้าง เยื่อไมอีลิน
Cerebrospinal fluid: CSF
ร้อยละ 60-70 ของ CSF สร้างจากเซลล์ Ependymal cell ที่อยู่ในเนื้อเยื่อ Choroid plexus ที่อยู่ใจกลางสมองในส่วนที่เป็นโพรงน้ำ สมอง
ร้อยละ 30-40 ของ CSF ได้จากการซึมผ่านจาก หลอดเลือดที่อยู่รอบๆโพรงน้ำสมอง
Cerebrospinal fluid: CSF - มีสีขาวใส -ถูกสร้างในปริมาณ 500 มิลลิลิตรต่อวัน ในการ ไหลเวียนจะมีความดัน (ความดันในกะโหลก ศีรษะ) ประมาณ 7-15 มิลลิเมตรปรอท -ประกอบด้วย น้ำ โปรตีน น้ำตาล เซลล์เม็ดเลือด ขาวและเซลล์เม็ดเลือดแดงในปริมาณน้อยมาก (0-3 เซลล์) OType here to search
หน้าที Cerebrospinal fluid: CSF
ปกป้องสมองและไขสันหลังจากการ กระทบกระเทือน
-ช่วยคงรูปร่างของสมองและไขสันหลัง
-ช่วยกำจัดของเสียจากเนื้อสมองและไขสันหลัง
โรคกล้ามเนื้ออ่อนแรง
เกิดจากความผิดปกติของสารสื่อประสาท ชื่อ อะซีทิลโคลีน (acetylcholine) - พบว่าตัวรับ (receptor) ของสารสื่อประสาทอะซีติลโคลีนถูกทำลาย ทำให้มีจำนวนตัวรับลดลง อันเนื่องมาจากการทำงานของระบบ ภูมิคุ้มกันผิดปกติ (autoimmune disorder) มีการทำลายตัวรับสาร สื่อประสาทอะซิติลโคลีน
สาเหตุ
ร่างกายสร้าง Ab ต่อโปรตีนชนิดหนึ่ง ที่ทำหน้าที่เป็น ตัวรับสารอะซิติลโคลีน พบว่า ผู้ป่วยจะมีโปรตีนตัวรับ สารอะซิติลโคลีนน้อยกว่าคนปกติถึงหนึ่งในสาม เพราะ ร่างกายสร้าง Ab มากำจัดโปรตีนชนิดนี้ไปเกือบหมด
สารอะซิติลโคลีน ไม่สามารถทำงานได้ แม้ร่างกายจะ หลั่งสารนี้ออกมาอย่างปกติ เนื่องจากโปรตีนตัวรับถูก ทำลายโดย A6ที่ร่างกายสร้างขึ้น
กรรมพันธุ์
สมอง
-เป็นอวัยวะที่ใหญ่ที่สุดในร่างกาย -ประกอบด้วยเซลล์ประสาทประมาณพันล้านเซลล์อยู่ในกะโหลกศีรษะ
เซลล์ประสาทในสมองแผ่กระจายกระแสไฟฟ้าอยู่ตลอดเวลา
สมองมีน้ำหนักประมาณ 1300-1500 กรัม
Cerebral edema
ภาวะที่มีของเหลวส่วนเกินสะสมในสมอง เกิดขึ้นกับสมองบางส่วนหรือทั่วทั้งสมอง จนทำ ให้สมองบวมและมีความดันในกะโหลกศีรษะ เพิ่มขึ้น สาเหตุส่วนใหญ่เกิดจากการบาดเจ็บและอาการ เจ็บป่วยต่าง ๆ ภาวะนี้เกิดขึ้นอย่างรวดเร็วและ อาจเป็นอันตรายถึงชีวิตได้
Vasogenic edema
เป็นผลจากการเพิ่มของเหลวนอกเซลล์
สาเหตุจากเนื้องอก เซลล์ขาดเลือดเป็นระยะ เวลานานและการติดเชื้อ
มีการทำลายของ BBB ทำให้มีการเคลื่อนที่ ของน้ำและโปรตีนอย่างอิสระผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ ผ่านเข้าช่องว่างระหว่างเซลล์
. Cytotoxic edema
เป็นการบวมของของเหลวในเซลล์สมอง
เกิดจากภาวะ hypo - osmotic เช่นภาวะน้ำเป็นพิษ (water intoxication), การขาดเลือดไปเลี้ยงอย่างรุนแรง
-ทำให้มีการเสื่อมสภาพของปั๊มโซเดียม-โปแตสเชียม ทำ ให้โซเดียมและน้ำเคลื่อนที่เข้ามาสะสมอยู่ในเซลล์ มีการ ลดปริมาณน้ำนอกเซลล์ในสมอง
3.Hydrostatic edema
มีการบวมรอบโพรงสมองจากแรงดันน้ำ ในภาวะน้ำคั่งในโพรงสมอง (Hydrocephalus)
Hydrocephalus
ภาวะที่ CSF คั่งในกะโหลกมากผิดปกติ ร่วมกับการมีความดันในกะโหลกศีรษะ เพิ่มขึ้น - เกิดจากการคั่งของ CSF จากการอุดตันการ ไหลเวียนหรือการสร้างมากกว่าการดูดซึม กลับมาก
สาเหตุ
ㆍความผิดปกติแต่กำเนิด(Congenital anomaly) พบบ่อยที่สุด คือ Aqueductal stenosis สาเหตุอื่น คือ Congenital hydrocephalus
ท่อน้ำสมอง (cerebral aqueduct)
เป็นท่อที่บรรจุน้ำหล่อสมองไขสันหลัง (CSF) อยู่ภายใน สมองส่วนกลาง ㆍเชื่อมต่อระหว่างโพรงสมองที่สามในไดเอนเซฟาลอนกับ โพรงสมองที่สี่ซึ่งอยู่ระหว่างพอนส์และชีรีเบลลัม
สาเหตุ Hydrocephalus
บาดเจ็บที่ศีรษะ(Traumatic brain injury)
โรคหลอดเลือดสมอง(CVA)
ㆍโรคต่างๆ (Acquired disease)
ภาวะความดันในกะโหลกศีรษะสูง (IICP) ㆍ
ㆍ เป็นผลจากการมีความพร่องของสมดุลระหว่าง ปริมาตรและความดันภายในกะโหลกศีรษะ
ความดันในกะโหลกศีรษะเพิ่มขึ้นจะทำให้ เกิดอันตรายต่อเนื้อสมอง (brain injury) (>20 mmHg)
การบาดเจ็บที่ศีรษะ
การบาดเจ็บที่หนังศีรษะ (scalp injury) การบาดเจ็บที่กะโหลกศีรษะ (skull firacture) · การบาดเจ็บที่สมองและหลอดเลือดสมอง
การบาดเจ็บที่หนังศีรษะ
เกิดจากแรงกระแทกโดยตรง
ทำให้เกิดรอยฟกช้ำ (contusion) หรือรอยฉีกขาด (laceration)
ไม่ทำให้เกิดความพิการทางสมอง เว้นเสียแต่ -มีการเสียเลือดมาก
-เว้นเสียแต่ -มีการเสียเลือดมาก เกิดการฉีกขาดของเส้นเลือดที่เลี้ยง สมอง
การบาดเจ็บที่กะโหลกศีรษะ (skull fracture)
ㆍ เกิดจากแรงกระแทก หรือภยันตรายอย่างรุนแรง
เกิดการแตกของกะโหลก มักมีการบาดเจ็บของสมองร่วมด้วย
ㆍ ไม่ใช่เป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดความพิการทางสมอง
การบาดเจ็บต่อระบบประสาท
Linear Fracture - เป็นเส้นตรง ขอบคมชัด คงรูปร่างเดิม - ไม่มีการรักษาโดยเฉพาะ และมักสมานกันได้เอง
Depressed Fracture -พบในเด็กเล็กอายุน้อยกว่า 6 ปี กะโหลกแตก ยุบแต่ Periosteum ไม่ฉีกขาด -ควรผ่าตัดยกกะโหลก
3.Skull base fracture หรือฐานกะโหลกศีรษะแตก -Massive bleeding เนื่องจากเลือดออกจากบริเวณที่ กะโหลกแตก เลือดมักจะออกจากจมูกและหู -Cerebrospinal fuid (CSF) leakage เนื่องจากมีการ ฉีกขาดของเยื่อหุ้มสมอง ทำให้ CSF รั่วออกมา -Cranial nerve (CN) injury โดยถ้าฐานกะโหลก ด้านหน้าแตก CN ที่พบบาดเจ็บได้แก่ CN II หรือ แ ถ้าด้านหลังแตก คือ CN VII และ CN VIII
Cerebral Hemorrhage
เป็นภาวะที่มีเลือดออกในสมอง เกิดจากหลอดเลือดในสมอง หรือเกิดจาก สาเหตุภายนอก เช่นอุบัติเหตุ อาการมักจะเป็นแบบทันทีทันใด ก้อนเลือดในสมอง จะกดหลอดเลือดทำให้เลือด ไปเลี้ยงสมองไม่พอจนกระทั่งสมองขาดเลือด หากเป็นรุนแรงจะทำให้สมองตายและอันตราย ถึงแก่ชีวิต
สาเหตุของเลือดออกในสมอง ความดันโลหิตสูง
ㆍ อุบัติเหตุที่ศีรษะ คนอายุน้อยกว่า 50 ปี เลือดออกในสมองมักจะเกิดจากอุบัติเหตุ Arteriovenous malformation (AVM) เป็น ผิดปกติแต่กำเนิดของหลอดเลือดดำต่อกับ หลอดเลือดแดง
Arteriovenous malformation (A
malformation (AVM) •โดยปกติหลอดเลือดแดงนั้นมีหน้าที่ในการลำเลียงเลือดที่มีออกซิเจน ไปสู่สมอง •เลือดในหลอดเลือดแดงจะไหลเวียนอย่างช้า ๆ ผ่านกลุ่มหลอดเลือด ฝอยจำนวนมาก และจะค่อย ๆ เข้าสู่ผนังที่มีรูขนาดเล็กรอบเนื้อเยื่อ สมองอย่างช้า ๆ เพื่อเดิมออกซิเจนและสารอาหารให้กับเนื้อเยื่อ สมอง จากนั้นเลือดจะไหลเวียนเข้าตามเส้นเลือดฝอยและกลับเข้าสู่ หลอดเลือดดำที่มีหน้าที่ลำเยงเลือดกลับสู่หัวใจและปอดเพื่อเดิม ออกซิเจน
ㆍ ใน AVM เลือดจากหลอดเลือดแดงไหลเวียนตรงสู่หลอดเลือดดำเร็ว กว่าปกติโดยไม่ผ่านกลุ่มหลอดเลือดฝอย
สาเหตุของเลือดออกในสมอง
ㆍหลอดเลือดโป้งพอง Aneurysm อาจจะเกิดจาก ความดันโลหิตสูง หรือเป็นความพิการแต่กำเนิด ㆍโรคเลือด เช่น โรค Hemophilia, sickle cell anemia
ㆍ เนื้องอกสมอง Brain tumors ㆍรับประทานยาต้านเลือดแข็ง
Cerebral concussion
ㆍ คือการที่สมองเสียหน้าที่ไปชั่วครู่จากแรง กระทบภายนอก โดยไม่มีพยาธิสภาพใน สมอง
ㆍ อาการ เช่น หมดสติครู่หนึ่ง จำเหตุการณ์ ไม่ได้
Cerebral Hemorrhage /Hematoma
Epidural hemorrhage /hematoma เป็นภาวะ ที่มีเลือดออกระหว่างกะโหลกและเยื่อหุ้มสมอง
•เกิดจากแขนงของหลอดเลือด middle meningcal artery ซึ่งเป็นหลอดเลือดที่เลี้ยงเยื่อ หุ้มสมองฉีกขาด เลือดมักออกบริเวณที่ถูก กระทบโดยตรง (coup injury)
•สัมพันธ์กับการแตกของกะโหลกศีรษะ