Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระบบประสาท (Nervous System) - Coggle Diagram
ระบบประสาท (Nervous System)
ควบคุมการทำงานของ ร่างกายในการตอบสนอง ต่อสิ่งเร้าที่มาจาก ภายนอกทั้งหมด
หน้าที่ - Sensory , Processing information , Motor
system
Nervous tissue
เซลล์ประสาท
cell body ส่วนที่มี
นิวเคลียสและไซโตพลาสซึม
unipolar neuron
unipolar neuron
multipolar neuron
nerve fiber
axon fiber นำกระแสความรู้สึกส่งไปยัง เซลล์ประสาทถัดไป
dendrite fiber รับความรู้สึกเข้าสู่ตัวเซลล์
เซลล์เนื้อเยื่อเกี่ยวพันประสาท
astrocyte ช่วยพยุงและเชื่อมปลาย
ประสาทที่ชารุด
oligodendrocyte - myelin sheath
microglia
epandyma cell
schwann cell/neurolemma
สมอง (Brain)
Cerebral edema
ภาวะที่มีของเหลวส่วนเกินสะสมในสมอง
Vasogenic edema
มีการทาลายของ BBB
ตัวกั้นระหว่างเลือดกับสมอง (Blood-brain barrier:BBB) เยื่อที่เลือกให้สารบางอย่างผ่าน
2 .Cytotoxic edema การบวมของของเหลวในเซลล์สมอง
Hydrostatic edema
บวมรอบโพรงสมองจากแรงดันน้ำ ในภาวะน้าคั่ง
Hydrocephalus
CSF คั่งในกะโหลกมากผิดปกติ + มีความดันในกะโหลกศีรษะ เพิ่มขึ้น
ภาวะเพิ่มความดันในกะโหลกศีรษะสมองขาดเลือดไปเลี้ยง เกิดความผิดปกติทางระบบประสาท
ภาวะความดันในกะโหลกศีรษะสูง (IICP)
เป็นผลจากการมีความพร่องของสมดุลระหว่าง
ปริมาตรและความดันภายในกะโหลกศีรษะ
การบาดเจ็บที่ศีรษะ
บาดเจ็บที่กะโหลกศีรษะ (skull fracture)
การแตกของกะโหลก
มักมีการบาดเจ็บของสมองร่วมด้วย
ไม่ทำให้เกิดความพิการทางสมอง
การบาดเจ็บที่สมองและหลอดเลือดสมอง
บาดเจ็บที่หนังศีรษะ (scalp injury)
เกิดจากแรงกระแทกโดยตรง
ไม่ทาให้เกิดความพิการทางสมอง
การบาดเจ็บต่อระบบประสาท
Linear Fracture ไม่มีการรักษาโดยเฉพาะ และมักสมานกันได้เอง
Depressed Fracture -พบในเด็กเล็กอายุน้อยกว่า 1 ปี กะโหลกแตก
Skull base fracture หรือฐานกะโหลกศีรษะแตก
Cerebral Hemorrhage
ภาวะที่มีเลือดออกในสมอง
ความดันโลหิตสูง
Arteriovenous malformation (AVM) เป็น ผิดปกติแต่กำเนิด
Cerebral concussion
การที่สมองเสียหน้าที่ไปชั่วครู่จากแรง กระทบภายนอก
หลอดเลือดเลี้ยงสมอง แบ่งออกเป็น 2 ระบบ
1.Carotid system
เป็นหลอดเลือดเลี้ยงสมองที่เริ่มจากหลอดเลือด
common carotid artery 2 เส้น
External carotid artery ไปเลี้ยงโครงสร้างที่อยู่ในใบหน้าและคอ
Internal carotid artery แบ่งเป็น 4 ส่วน
1.cervical 2.petrous 3.cavernous 4.cerebral segments
Anterior cerebral artery
Anterior cerebral artery
2.Posterior or vertebro-basilar
system
เป็นหลอดเลือดที่แยกจาก subclavian arteries
Cerebral Vascular disease
สมองขาดออกซิเจน (Cerebral Hypoxia)
อาการที่สมองได้รับออกซิเจนไม่เพียงพอต่อความต้องการ
Cerebral ischemia
สมองขาดเลือดชั่วขณะ (Transient Ischemic Attack,TIA)
โรคหลอดเลือดสมอง (stroke)
สมองขาดเลือดไปเลี้ยงเนื่องจากหลอดเลือด ตีบ หลอดเลือดอุดตัน หรือหลอดเลือดแตก การทำงานของสมอง หยุดชะงัก
ความผิดปกติของหลอดเลือดสมอง
หลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตัน (ischemic stroke)
สาเหตุส่วนใหญ่ร้อยละ 80 หลอดเลือดสมองอุดตัน เกิดจากลิ่มเลือด
เกิดจากการสะสมของ ไขมันในหลอดเลือด ทาให้หลอดเลือดตีบแคบ
หลอดเลือดสมองปริแตกหรือฉีกขาด (hemorrhagic
stroke)
เกิดจากหลอดเลือดเสียความยืดหยุ่นจากการสะสมของไขมันในหลอดเลือด
ปัจจัยเสี่ยงของโรคหลอดเลือดสมอง
ป้องกันไม่ได้
อายุ เมื่ออายุมากขึ้น - เพศ - ภาวะการแข็งตัวของเลือดเร็วกว่าปกติ
ป้องกันได้
ความดันโลหิตสูง - เบาหวาน - ไขมันในเลือดสูง - โรคหัวใจ - การสูบบุหรี่
Bell’s palsy (ใบหน้าเบี้ยวครึ่งซีก)
กล้ามเนื้อใบหน้าข้างหนึ่งอ่อนแรงชั่วคราว
สาเหตุ - การได้รับอุบัติเหตุที่เส้นประสาท , เนื้องอก , การติดเชื้อพบบ่อยที่สุด
เส้นประสาทคู่ที่ 7 บวม อักเสบ หรือได้รับอุบัติเหตุ ทำให้เกิดการกดทับและขาดเลือดไปเลี้ยงสมอง
การอักเสบและการติดเชื้อ
Acute purulent meningitis
โรคเยื่อหุ้มสมองอักเสบเฉียบพลันชนิดมีหนองจากเชื้อ แบคทีเรีย Streptococcus, Staphylococcus, Pneumococcus
Brain abscess
Tuberculosis
Syphilis
Brain abscess (ฝีในสมอง)
Brain abscess
พบบ่อยได้แก่ พวก Streptococcus ทั้ง
ชนิด aerobic และ anaerobic ส่วนใหญ่เป็น mixed infection
Rabies เกิดจาก Myxovirus
Epidural Abscess
เป็นฝีที่เกิดระหว่างเยื่อหุ้ม สมองกับกะโหลกศีรษะ
Subdural Abscess
เป็นการติดเชื้อใต้เยื่อหุ้มสมอง มักจะเป็นผลจากการติดเชื้อทางโพรงอากาศ
Poliomyelitis
เชื้อติดต่อทางระบบทางเดินอาหารเข้าสู่ CNS ทางกระแสเลือด
Fungal infection
พบในผู้ป่วยที่มีภูมิต้านทานต่า
การอักเสบจากหนอนพยาธิหรือโปรโตซัว
เชื้อ malaria ที่ทาให้เกิดพยาธิสภาพที่
สมอง
บาดเจ็บไขสันหลัง Spinal Cord Injury
อาจทาให้เกิดการบวมของไขสันหลัง
ซึ่งเป็นผลจากการอุดกั้นของเส้นเลือดที่ไปเลี้ยงไขสันหลัง
Tetraplegia (Quadriplegia)
การอ่อนแรงหรืออัมพาตของแขนขาและลำตัว
Paraplegia
เกิดขึ้นเนื่องจากมีพยาธิสภาพตั้งแต่ระดับ T2 ลง มา
Complete injury
ผู้ป่วยสูญเสียการควบคุมกล้ามเนื้อและการรับรู้ทาง ผิวหนังในบริเวณที่ถูกควบคุมด้วยไขสันหลังที่อยู่ต่ากว่าระดับ ที่มีพยาธิสภาพ
Incomplete injury
พยาธิสภาพชนิดไม่สมบูรณ์