Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
(acute glomerulonephritis, AGN), , , จัดทำโดย นางสาวอนงค์ ขลุ่ยนาค รหัส …
(acute glomerulonephritis, AGN)
อาการทางคลินิก
ภายหลังการติดเชื้อประมาณ 7-14 วัน ผู้ป่วยเด็กจะมีอาการบวมที่หน้า โดยเฉพาะขอบตา ต่อมาบวมที่ขาและท้องชนิดกดไม่บุ๋ม และบวมไม่มาก
-
เด็กจะมีอาการซีด กระสับกระส่าย และอ่อนเพลียมาก เด็กโตอาจบอกได้ว่ามีอาการปวดศีรษะ แน่นอึดอัดท้องและถ่ายปัสสาวะไม่ค่อยออก (dysuria)
อาการและอาการแสดง
-
ร่วมกับอาการอื่นๆ เช่น อาการของหัวใจล้มเหลว (congestive heart failure) ซึ่งเป็นผลจากการได้รับน้ าเกิน
-
-
-
พยาธิสภาพ
เมื่อมีการติดเชื้อในร่างกายจะมีแอนติเจนกระตุ้นให้ร่างกายสร้างแอนติบอดีขึ้น ปริมาณของเซลล์ที่มีการอักเสบที่เพิ่มขึ้น และความสามารถในการผ่านของสารในเซลล์ (basement membrane permeability) ที่ลดลงทำให้พื้นที่การกรอง (glomerular filtration surface) และอัตราการกรอง (glomerular filtrationrate: GFR) ลดลง ปริมาณเลือดที่ไปเลี้ยงที่ไตจะลดลงในอัตราส่วนเดียวกับอัตราการกรอง
-
-
-
ความหมาย
ภาวะที่มีการอักเสบเฉียบพลัน
ของโกลเมอรูลัส ทำให้มีจำนวนเซลล์เพิ่มขึ้นภายในโกลเมอรูลัส ทั้งเม็ดเลือดขาวและ endothelial cells ส่งผลให้เกิดอาการบวม ปัสสาวะออกน้อย ความดันโลหิตสูง ภาวะปัสสาวะมีเลือดและโปรตีน และ azotemia
สาเหตุ
-
สาเหตุส่วนใหญ่เกิดจากปฏิกิริยาทางอิมมูน และส่วนใหญ่มักเกิดตามหลังการติดเชื้ออื่นๆของร่างกายอาจเป็นเชื้อแบคทีเรีย ไวรัส หรือเชื้ออื่นๆที่พบบ่อยคือ pharyngitis จากเชื้อ Streptococcus group A. (post-streptococcal glomerulonephritis)
สาเหตุที่พบบ่อยที่สุดในเด็กคือ acute post-streptococcal glomerulonephritis (APSGN) เป็นภาวะที่พบในผู้ป่วยเด็กทั่วโลกพบบ่อยในเด็กชายก่อนวัยเรียนและวัยที่เริ่มเข้าโรงเรียน พบบ่อยในเด็กช่วงอายุ 2-12 ปี และพบในเด็กชายมากกว่าหญิงในอัตรา 2:1 ในทางระบาดวิทยาพบรายงานการเกิดในเด็กลดลงอย่างต่อเนื่อง
-
การรักษา
-
เป็นการรักษาแบบประคับประคองอาการ ผู้ป่วยที่มีอาการรุนแรงต้องเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลมีข้อบ่งชี้ได้แก่ มีอาการบวมมาก ความดันโลหิตสูง ปัสสาวะออกน้อย ค่าซีรั่ม BUN และครีอตินินสูง ส าหรับผู้ป่วยที่ไม่ได้รับการรักษาในโรงพยาบาลควรได้รับการติดตามอาการอย่างใกล้ชิด เพราะอาจมีอาการรุนแรงขึ้น
-
-
การติดตามการรักษา
หลังจากจ าหน่ายผู้ป่วยแล้ว จ าเป็นต้องให้ผู้ป่วยมาตรวจตามนัดเป็นระยะๆ และต้องตรวจร่างกายวัดความดันโลหิต และตรวจปัสสาวะทุก 4-6 สัปดาห์ ในช่วง 6 เดือนแรก หลังจากนั้นนัดตรวจทุก 3-6 เดือน จนกว่าจะตรวจไม่พบโปรตีนและเลือดในปัสสาวะ และหรือตามแพทย์นัด
ตำแหน่งของการติดเชื้อก่อนปรากฏอาการผู้ป่วยโรคไตอักเสบเฉียบพลันส่วนใหญ่จะเคยได้รับการติดเชื้อบริเวณอื่นมาก่อน ได้แก
1.การติดเชื้อทางเดินหายใจ เช่น ทอนซิลอักเสบ ไข้หวัด คอหอยอักเสบ หูชั้นกลางอักเสบพบส่วนมากจะเป็นเชื้อแบคทีเรีย Group A β hemolytic Streptococcus
- การติดเชื้อที่ผิวหนัง เช่น แผลตุ่มหนองพุพอง แผลจากการเป็นสุกใส แผลจากแมลงกัดต่อย ซึ่งมักพบเชื้อ staphylococcus
-
-
-
-