Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะอาเจียนอย่างรุนแรง (Hyperemesis gravidarum), image, image, image,…
ภาวะอาเจียนอย่างรุนแรง
(Hyperemesis gravidarum)
ขยายความ
ส่งผลให้ไม่สามารถรับประทานอาหารได้ตามปกติ
เป็นสาเหตุของการขาดความสมดุลของสารน้ำและสารอาหารในร่างกาย
อาจพบตั้งแต่ไตรมาสแรก และต่อเนื่องไปตลอดการตั้งครรภ์
อุบัติการณ์ของการแพ้ท้องอย่างรุนแรงพบได้ประมาณร้อยละ 2 ของการตั้งครรภ์
เป็นภาวะที่สตรีตั้งครรภ์มีอาการคลื่นไส้อย่างรุนแรง และต่อเนื่องเป็นเวลานาน
สาเหตุ
ปัจจัยด้านมารดา
มีพฤติกรรมการบริโภคอาหารไม่เหมาะสมตั้งแต่ก่อนตั้งครรภ์
มีความผิดปกติของระบบทางเดินอาหาร
มีประวัติการแพ้ท้องอย่างรุนแรงในครรภ์ก่อน/เป็นการตั้งครรภ์ครั้งแรก
กระเพาะอาหารเคลื่อนไหวลดลง เนื่องจากการเพิ่มขึ้นของ progesterone
ระดับฮอร์โมนเอสโตรเจนสูง หรือ มีระดับ hCG เพิ่มมากกว่าปกติ
สภาพจิตใจ ความเครียด ความวิตกกังวล
ปัจจัยด้านทารก
ทารกมีความผิดปกติเกี่ยวกับโครโมโซม
ทารกบวมน้ำ
อาการและอาการแสดง
อาการอาเจียนไม่รุนแรงมาก สามารถทำกิจวัตรประจำวันได้ตามปกติ Body weight (BW) ลดลงเล็กน้อย ไม่มีอาการ dehydration
อาการอาเจียนรุนแรงมากขึ้น คือมีอาการอาเจียน 5-10 ครั้งต่อวัน หรือมากกว่า เป็นเวลาหลายวัน
เกิดความไม่สมดุลของร่างกาย
ลมหายใจมีกลิ่นอะคีโตน
มีอาการแสดงของภวะขาดน้ำ (dehydration)
มีอาการแสดงของกลุ่มอาการ Wenicke’s encephalopathy
ขาดสารอาหาร และน้ำหนักลดลง
มีอาการแสดงทางด้านจิตใจ
มีอาการคลื่นไส้อาเจียนอย่างรุนแรง เป็นระยะเวลานาน อาจตลอดทั้งวัน อาการรุนแรงอาจเพิ่มมากขึ้น จนไม่สามารถยับยั้งได้
หากไม่ได้รับการรักษาจะทำให้ขาดสารอาหารอย่างรุนแรง ตามองเห็นภาพไม่ชัด และอาจทำให้เสียชีวิตได้
ผลกระทบต่อการตั้งครรภ์
ต่อมารดา
เกิดภาวะความเป็นกรดของร่างกาย (acidosis)
เสียสมดุลอิเล็กโตรลัยท์ (electrolyte)
ทำให้ร่างกายเกิดการขาดน้ำ อุณหภูมิสูง ชีพจรเบาเร็ว ความดันต่ำ มีผลต่อไต ปัสสาวะน้อย ผิวแห้ง อ่อนเพลีย
เกิดภาวะขาดสารอาหาร (Malnutrition)
อาจเสียชีวิตจากภาวะ hepatic coma
ผลกระทบต่อทารกในครรภ์
BE loss มาก
ทารกในครรภ์เติบโตช้า
น้ำหนักแรกคลอดน้อยกว่าปกติ
แม่มีอาการรุนแรงมาก
คลอดก่อนกำหนด
ตายคลอด
แท้ง
พิการ
ทารกมีอาการทางสมอง เกิดภาวะ Wernicke’s encephalopathy
การวินิจฉัย
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจเลือด
Hct. สูง, BUN สูง, SGOT สูง, LFT สูง
Na ต่ำ, K ต่ำ, Cl. ต่ำ , Protein ต่ำ
Urine
ไข่ขาวในปัสสาวะเพิ่มขึ้น
พบคีโตยในปัสสาวะ
มีความถ่วงจำเพาะสูง
พบน้ำดีในปัสสาวะ(รุนแรง)
การตรวจพิเศษ
HX., PE, signs & symptoms : การอาเจียนรุนแรง, dehydration, BW, สภาพจิตใจ
แนวทางการรักษา
การให้ยา
วิตตามิน
วิตตามินB6
ยาคลายกังวล
Diazepam
ยาลดคลื่นไส้อาเจียน
เมื่ออาการแพ้ท้องรุนแรงดีขึ้น
ให้รับประทานอาหารอ่อน ครั้งละน้อยแต่บ่อยครั้ง
รับประทานอาหารที่มีส่วนประกอบของขิงสามารถช่วยลดอาการคลื่นไส้ได้
หากอาการรุนแรงมาก
แก้ไขภาวะขาดน้ำ ความไม่สมดุลของเกลือแร่ และความเป็นกรด-ด่างของเลือด
5% D/NSS 1,000 ml. IV
NPO
parenteral nutrition therapy
หลีกเลี่ยงสิ่งแวดล้อม และสิ่งกระตุ้นที่ทำให้คลื่นไส้อาเจียน
อาการไม่รุนแรงสามารถรับประทานอาหารได้ แนะนำให้ได้รับอาหารทดแทนการสูญเสียเกลือแร่ อาหารที่มี K และ Mg
กรณีที่รักษาแล้วอาการไม่ดีขึ้น ต้องทำการวินิจฉัยเพื่อค้นหาสาเหตุของโรค เพื่อทำการรักษาอย่างเหมาะสม
ควรแยกโรคภาวะอาเจียนรุนแรงกับอาการของโรคอื่นๆ
ลำไส้อักเสบ (enteritis)
appendicitis
PU
ครรภ์ไข่ปลาอุก (molar pregnancy)
hepatitis
การพยาบาล
ผู้ป่วยในโรงพยาบาบ
บันทึก I&O
จัดสิ่งแวดล้อมให้สะอาด เงียบสงบ เหมาะแก่การพักผ่อน
ดูแลให้ยาลดอาการคลื่นไส้อาเจียน ตามแผนการรักษา
รับประทานอาหารครั้งละน้อยแต่บ่อยครั้ง
อาจผสม glucose, vitamins, electrolyte ต่างๆ ในสารน้ำ
งดอาหารไขมัน
ให้ได้รับสารน้ำทางหลอดเลือดดำ เพื่อแก้ไขภาวะขาดน้ำ
ในรายที่มีอาการรุนแรงมาก จำเป็นต้องให้อาหารทางสายยาง หรือให้สารอาหารทดแทนทางหลอดเลือดดำ โดยเป็นอาหารเหลวที่มีแคลอรี่และวิตามินสูง
ดูแลความสะอาดของช่องปากและฟัน
ติดตามชั่งน้ำหนัก
หลีกเลี่ยงสิ่งที่จะกระตุ้นให้เกิดอาการคลื่นไส้อาเจียน
ติดตามผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ และรายงานแพทย์ให้ทราบทันที
NPO อย่างน้อย 24-48 hr.
ดูแลด้านจิตใจ
ปรึกษาและส่งต่อไปยังผู้เชี่ยวชาญด้านการให้คำปรึกษา
เมื่อผู้ป่วยกลับไปอยู่บ้าน
ควรดื่มน้ำ หรือเครื่องดื่มระหว่างมื้ออาหาร
แนะนำให้พักผ่อนอย่างเพียงพอ
อย่างน้อย 8 ชั่วโมงในเวลากลางคืน
กลางวันอย่างน้อย 1 ชั่วโมง
แนะนำให้ดื่มน้ำอุ่นทันที่ตื่นนอนประมาณครึ่งแก้ว แล้วนอนต่ออีกประมาณ 15 นาที ก่อนที่จะลุกขึ้นปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน
แนะนำการออกกำลังกาย หรือกายบริหารเบาๆ อย่างสม่ำเสมอ
ไม่ควรนอนทันที หลังจากรับประทานอาหาร
แนะนำให้หลีกเลี่ยงสิ่งกระตุ้นให้เกิดความเครียด
แนะนำการรับประทานอาหาร ครั้งละน้อยแต่บ่อยครั้ง
อธิบายให้คู่สมรสและครอบครัวเข้าใจถึงภาวะที่เกิดขึ้น และควรให้การช่วยเหลือสตรีตั้งครรภ์อย่างใกล้ชิด
แนะนำให้เห็นความสำคัญของการมาตรวจตามนัดอย่างสม่ำเสมอ และสังเกตอาการผิดปกติที่ควรมาพบแพทย์ก่อนวันนัด
ผู้ป่วยนอก
แนะนำให้จิบเครื่องดื่มอุ่นๆ เช่น น้ำขิง เป็นต้น
รับประทานอาหารแข็งที่ย่อยง่าย
แนะนำวิธีการป้องกัน
ควรรับประทานอาหารแข็ง ย่อยง่าย
รับประทานอาหารเหลว อาหารน้ำ หรือดื่มน้ำระหว่างมื้ออาหาร
งดอาหารไขมัน
หลีกเลี่ยงอาหารรสจัดและอาหารที่มีกลิ่นแรง
รับประทานอาหารครั้งละน้อย แต่บ่อยครั้ง
หลังรับประทานอาหารไม่ควรนอนทันที
แนะนำการพักผ่อนอย่างน้อยวันละ 6-8 ชั่วโมง
แนะนำให้รับประทานอาหารประเภทคาร์โบไฮเดรตเชิงเดี่ยว
อธิบายสาเหตุของการเกิดภาวะอาเจียนรุนแรง และภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้น
แนะนำให้รับประทาน
อาหารที่มี K : กล้วย แคนตาลูป สัปปะ
อาหารที่มี Mg : ผัก ถั่วชนิดต่าง ๆ
อาหารทดแทนเกลือแร่ : น้ำตะไคร้ น้ำใบเตย
แนะนำวิธีการรับประทานยาแก้อาเจียนตามแผนการรักษา
สอนวิธีการประเมินโภชนาการ การคำนวณ พลังงานที่ได้รับจากอาหารที่บริโภค และการชั่งน้ำหนัก
ให้คำปรึกษาในการปรับแบบแผนการรับประทานอาหาร เพื่อให้ได้พลังงานและสารอาหารที่เพียงพอ 2,000 กิโลแคลอรี่ต่อวัน
ช่วยประคับประคองด้านจิตใจ
แนะนำให้มาพบแพทย์เมื่อมีอาการคลื่นไส้อาเจียนมากขึ้น หรือไม่ทุเลาลงอย่างต่อเนื่อง