Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พยาธิสรีรวิทยาระบบทางเดินอาหาร - Coggle Diagram
พยาธิสรีรวิทยาระบบทางเดินอาหาร
โครงสร้างของทางเดินอาหาร
ส่วนที่เป็นทางเดินอาหาร
ต่อมที่เกี่ยวข้องกับการทำงานของ GIT
โรคของช่องปาก
ความพิการแต่กำเนิด
Hare Lip and Cleft palate
โรคปากแหว่งเพดานโหว
สามารถเกิดได้ตั้งแต่ทารกอยู่ในครรภ์มารดา ในช่วงเดือนท่ี 2 และเดือนท่ี 3 ของการตั้งครรภ์ทำให้เกิดความผิดพลาดในการสร้างอวัยวะ ได้แก่ ปากและเพดานปาก
ปากแหว่ง สาเหตุจากการเช่ือมของขากรรไกรบนและส่วน ยื่นจมูกด้านใกล้กลาง เพื่อเป็นเพดานปากปฐมภูมิ ไม่สมบูรณ์
เพดานโหว่ สาเหตุจากความบกพร่องของการเช่ือมของส่วนยื่นเพดานปากด้านข้าง (lateral palatine processes) , ผนังกลางจมูก (nasal septum) , และ/หรือส่วนยื่น เพดานปากกลาง (median palatine processes) เพื่อเป็นเพดานปากทุตยิภูมิ
การอักเสบ
ฟัน
เคลือบฟัน(enamel):เป็นส่วนที่แข็งที่สุดของฟันมี
ส่วนประกอบของ แคลเซียมและฟอสเฟต
เนื้อฟัน(dentine):เป็นส่วนที่แข็งน้อยกว่าเคลือบฟัน มีความแข็งพอๆกับกระดูก ชั้นนี้มีการสร้างและสลายอยู่ตลอดเวลาเป็นชั้นที่มีเซลล์เป็นจำนวนมา
โพรงประสาทฟัน (pulp) : เป็นที่อยู่ของเส้นเลือดที่นำ
อาหารมาหล่อเลี้ยงฟัน และนำของเสียออกจากฟัน และมี เส้นประสาทรับความรู้สึกของฟัน
เคลือบรากฟัน(cementum):เป็นส่วนของเนื้อเยื่อปริทนัต์ ที่อยู่ภายในรากฟัน ด้านหลังของเหงือก ซึ่งมีเส้นประสาท ไหลเวียนมาก
เหงือก(gingiva):เนื้อเยื่อที่หุ้มตัวฟันและกระดูก ขากรรไกรไว้
Gingivitis
เศษอาหารหมักหมม หรือหินปูน พอกอยู่ที่ฟัน
ทำให้ Bacteria เจริญได้ดี
เกิดการอักเสบ
Periodonitis
เป็นการอักเสบของเนื้อเยื่อที่อยู่รอบฟัน
ถ้าอักเสบเรื้อรังอาจทาให้เหงือกร่น(Gingival recession)
เป็นสาเหตุสาคัญของการสูญเสียฟันในคนอายุ 35 ปีขึ้นไป
Aphthous ulcer (Canker sore)
เป็นแผลที่เกิดซ้ำในช่องปาก
มักเป็นแผลตื้น แผลเดียวหรือหลายแผลพร้อมกัน
โรคของหลอดอาหาร
ความพิการแต่กำเนิด
Esophagealatresia เป็นภาวะที่ไม่มีส่วนใดส่วนหน่ึงของ หลอดอาหาร
Esophagealstenosis เป็นภาวะที่บางส่วนของ หลอดอาหารตีบ
Achalasia
กลืนอาหารลำบากและสำลัก โดยเฉพาะเวลากลางคืน
หลอดอาหารส่วนบนจะมีผนังบางและโป่งออก
Esophageal varices
หลอดเลือดดาโป่งพองบริเวณหลอดอาหารส่วนล่าง
สาเหตุที่ทำให้เกิดภาวะเลือดออก คือ cirrhosis
หลอดเลือดดำมีลักษณะคดเคี้ยวจาก portal hypertension ทำให้เกิดแผลได้
ความผิดปกตขิองกระเพาะอาหาร
ความพิการแต่กำเนิด
Diaphragmatic hernia ทำให้พบส่วนท่ีเป็นทางเดินอาหารอยู่ในนทรวงอกได้
Congenital pyloric stenosis
Gastritis
เป็นการอักเสบของ gastric mucosa จากสารระคาย เคืองและความบกพร่องกลไกป้องกัน
Acute gastritis
สาเหตุระคายเคืองจากอาหาร ยา แอลกอฮอล์ การติดเชื้อ
พยาธิสภาพเร่ิมจากอาการเลือดคั่งและบวมของเยื่อบุกระเพาะอาหาร
Chronic gastritis
สาเหตุ การท้นกลับน้ำดี,การระคายเคืองเรื้อรัง การดื่มเหล้า ยาASA การติดเชื้อ Helicobacter pylori
Peptic ulcer
ตำแหน่งที่พบได้ เช่น หลอดอาหารส่วนล่าง กระเพาะอาหารลำไส้เล็กส่วนต้นที่ติดกับกระเพาะอาหาร
เกิดจากความเสียสมดุลระหว่างปริมาณกรดท่ีหลั่งในกระเพาะอาหาร กับความต้านทานต่อกรด
โรคกระเพาะอาหารแบบเฉียบพลัน (Acute ulcer) ลักษณะเป็นแผลตื้นไม่ลึกถึงชั้นกล้ามเนื้อกระเพาะอาหาร
โรคกระเพาะอาหารแบบเรื้อรัง(Chronic peptic ulcer) แผลมีลักษณะเรื้อรัง ขอบแผลนูนบวม เมื่อแผลหายจะเกิดรอยแผลเป็น
Diverticular disease
การท่ี mucosa มีลักษณะคล้ายถุงยื่นเป็นติ่งออกไปจาก muscle layer ของผนัง colon
มักพบในผู้สูงอายุ,รับประทานอาหารที่มีกากใยอาหารน้อย,ไม่ออกกาลังกาย
Hemorrhoid
สาเหตุ เป็นความผิดปกติของหลอดเลือดบริเวณนั้น เกิดจากการเพิ่มความดันในหลอดเลือดดำนานๆเกิด
จากการเบ่งอุจจาระบ่อยๆจากท้องผูก การยกของหนัก การยืนนานๆรวมทั้งการตั้งครรภ์ทำให้เลือดไหลกลับไม่สะดวก
หน้าที่ของตับ
สร้างและหลั่งน้ำดี
ควบคุมการสร้างและสลายคาร์โบไฮเดรท
ควบคุมการสร้างและสลายไขมัน
ควบคุมการสร้างและสลายวิตามิน
-การสลายและการขับออกของฮอร์โมน
ทำการเปลี่ยนโครงสร้างและขับสารพิษและยาออกจากร่างกาย
ความผิดปกติของตับ
Jaundice
ระดับ bilirubin ในเลือดสูงกว่าปกติสองเท่า
อาการ ผิวหนัง ตา sclera เหลือง
สาเหตุมีการแตก RBC เพิ่มขึ้น
Ascites
ภาวะท้องมานเป็นการสะสมของเหลวในช่องท้อง โดยมีสาเหตุ จากโรคตับเรื้อรังมะเร็งหัวใจขวาล้มเหลว ตับอ่อนอักเสบ nephrotic syndrome
ภาวะความดันเลือดสูงในเส้นเลือดดาพอร์ตัล (Portal hypertension)
การอุดตันที่เกิดในเส้นเลือดพอร์ตัล (Prehepatic block)
การอุดตันที่เกิดขึ้นในตับส่วน sinusoids (Intrahepatic sinusoidal block)
การอุดตันที่เกิดขึ้นในเส้นเลือดดำเฮปพาตกิ (Posthepatic block)
Disorders of the gall bladder
นิ่วในทางเดินน้ำดี
Choledocholithiasis นิ่วที่เกิดในทางเดินน้ำดีร่วมเกิดจากการอักเสบของท่อน้ำดี (Cholangitis)
hepatolithiasis นิ่วที่เกิดในทางเดินน้ำดี ภายในตับมีแคลเซียมเป็นส่วนประกอบหลัก มีสีน้ำตาล เรียก Brown pigment stones
นิ่วที่ประกอบด้วยโคเลสเตอรอล(Cholesterol stones)
นิ่วที่ประกอบด้วยบิลิรูบิน (Pigment or bilirubin stones)
ความผิดปกติในหน้าที่ตับอ่อน (Disorders of the pancreas)
ตับอ่อนอักเสบเฉียบพลัน (Acute pancreatitis)
ตับอ่อนอักเสบเรื้อรัง(Chronic pancreatitis)
สาเหตุและกลไกการเกิดตับอ่อนอักเสบ
Acute pancreatitis
เกิดจากท่อในตับอ่อนได้รับบาดเจ็บหรือมีการแตกน้ำย่อยจากตับอ่อนจะย่อยเนื้อเยื่อตนเอง
การอุดตันทางเดินน้ำดีทำให้น้ำดีไหลเข้าสู่ตับอ่อน
แอลกอฮอล์ทาให้ตับอ่อนหลั่งน้ำย่อยมากขึ้นและทกให้ Oddi sphinctor หดเกร็ง
Chronic pancreatitis
มักมีความสัมพันธ์กับการดื่มเหล้า สูบบุหรี่ รับประทานอาหารมัน ภาวะแคลเซียมในเลือดสูง การอุดตันท่อในตับอ่อนเป็นเวลานาน