Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระบบประสาท (Nervous System) - Coggle Diagram
ระบบประสาท (Nervous System)
หน้าที่ของระบบประสาท
รับความรู้สึก (Sensory) จากตัวกระตุ้นทั้งภายในและภายนอก
วิเคราะห์ข้อมูล (Processing information)
สั่งงานและควบคุมการทำงาน (Motor system)
เนื้อเยื่อประสาท (Nervous tissue)
หน้าที่และส่วนประกอบของเนื้อเยื่อประสาท
เนื้อเยื่อประสาททำหน้าที่รับความรู้สึกและส่งกระแสความรู้สึกไปยังส่วนต่างๆของร่างกาย ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ
เซลล์ประสาท (nerve cell หรือ neuron)
เซลล์เนื้อเยื่อเกี่ยวพันประสาท (neuroglia)
โครงสร้างของเซลล์ประสาท
ประกอบด้วยโครงสร้างดังนี้
1.ตัวเซลล์ (cell body) เป็นส่วนที่มีนิวเคลียสและไซโตพลาสซึม
เส้นใยประสาท (nerve fiber) คือส่วนที่เป็นแขนงของไซโตพลาสซึม (cytoplasmic process) ที่ยื่นออกจากตัวเซลล์ เส้นใยประสาท มี 2 ชนิด คือ
1.เส้นใยแอกซอน (axon fiber)
2.เส้นใยเดนไดรท์ (dendrite fiber)
ชนิดของเซลล์ประสาท
พิจารณารูปร่างได้ 3 ชนิด คือ
เซลล์ประสาทขั้วเดียว(unipolar neuron) เซลล์ประสาทชนิดนี้จะมีตัวเซลล์ยื่นออกเป็นขั้ว (pole) เพียง 1 เส้น พบที่ปมประสาทไขสันหลังและปมประสาทอัตโนมัติ
เซลล์ประสาทสองขั้ว (bipolar neuron) มีแขนงยื่นจากตัวเซลล์ 2 เส้น ในบริเวณตรงข้ามกัน แขนงหนึ่งคือเดนไดรท์ อีกแขนงเป็นแอกซอน บริเวณที่มีเซลล์ประสาทชนิดนี้ได้แก่ เซลล์ประสาทที่จอตา (retina)
เซลล์ประสาทหลายขั้ว (multipolar neuron) มีแขนงของแอกซอน 1 เส้น และมีเดนไดรท์หลายเส้นยื่นออกมาจากตัวเซลล์ บริเวณตัวเซลล์มีลักษณะเป็นรูปสามเหลี่ยมปิรามิด เซลล์ประสาทชนิดนี้พบที่สมองส่วนซีรีเบลลัม (cerebellum)
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์เนื้อเยื่อเกี่ยวพันประสาท
คล้ายเซลล์ประสาทแต่ไม่มีแอกซอนมีหลายชนิดและทำหน้าที่ต่างๆได้แก่
แอสโตรไซท์ (astrocyte) ช่วยพยุงและเชื่อมปลายประสาทที่ชำรุด
โอลิโกเดนโดรไซท์ (oligodendrocyte) ช่วยสร้างเยื่อ
ไมอีลิน(myelin sheath)
ไมโครเกลีย (microglia) กำจัดสิ่งแปลกปลอม
เซลล์อิแพนไดมา (epandyma cell) บุช่องในสมอง
และไขสันหลัง
เซลล์ชวันน์ (schwann cell) หรือ นิวโรเลมมา(neurolemma) บุอยู่รอบแอกซอน ทำหน้าที่สร้างเยื่อไมอีลิน
การทำงานของระบบประสาท
ประสานงานกัน 3 ส่วน
1.ส่วนที่รับสัญญาณเข้า (sensory input) จาก sensory receptor
PNS
2.ส่วนที่รวบรวมและแปลผล (integration center): CNS
3.ส่วนที่ส่งสัญญาณออก (motor output) ไปยัง effector cells
PNS
Cerebrospinal fluid: CSF
ร้อยละ60-70 ของ CSF สร้างจากเซลล์ Ependymal cell ที่อยู่ในเนื้อเยื่อChoroid plexus ที่อยู่ใจกลางสมองในส่วนที่เป็นโพรงน้ำสมอง
ร้อยละ 30-40 ของ CSF ได้จากการซึมผ่านจาก หลอดเลือดที่อยู่รอบๆโพรงน้ำสมอง
มีสีขาวใส
ถูกสร้างในปริมาณ 500 มิลลิลิตรต่อวัน
หน้าที่
ปกป้องสมองและไขสันหลังจากการ กระทบกระเทือน
ช่วยคงรูปร่างของสมองและไขสันหลัง
ช่วยกำจัดของเสียจากเนื้อสมองและไขสันหลัง
ช่วยให้สารหลายชนิดที่อยู่ในเลือด ที่อาจเป็ น อันตรายต่อเนื้อเยื่อสมองซึมเข้าสู่เนื้อเยื่อสมองไม่ได้ หรือได้น้อย ที่เรียกว่า Blood brain barrier
ระดับความรู้สึกตัว(Level of Conscious); LOC
Alert รู้เรื่องดี
Confusion กระสับกระส่าย สับสน
Drowsiness ง่วงซึม ปลุกตื่นได้ง่ายแล้วหลับอีก
Semicoma กึ่งหมดสติไม่รู้สึกตัว ตอบสนองเมื่อกระตุ้นด้วย ความเจ็บปวดรุนแรงยังคงมีreflex
Coma หมดสติไม่ตอบสนองต่อสิ่งเร้าที่รุนแรงไม่มี reflex, สัญญาณชีพเปลี่ยนแปลง
โรคกล้ามเนื้ออ่อนแรง Myasthenia gravis (MG)
เกิดจากความผิดปกติของสารสื่อประสาท ชื่ออะซีทิลโคลีน (acetylcholine)
พบว่าตัวรับ (receptor) ของสารสื่อประสาทอะซีติลโคลีนถูกทำลาย ทำให้มีจำนวนตัวรับลดลง
สารสื่อประสาทจะส่งสัญญาณที่ตัวรับสัญญาณบริเวณกล้ามเนื้อแต่ละมัดเพื่อให้กล้ามเนื้อเกิดการหดตัว
ผู้ป่วยโรคกล้ามเนื้ออ่อนแรง เมื่อปลายประสาทเกิดการหลั่งสารสื่อประสาทออกมา จะไม่สามารถส่งสัญญาณสู่ตัวรับบนกล้ามเนื้อได้ เนื่องจากร่างกายได้สร้างแอนติบอดีมาขัดขวาง และทำลายตัวรับ สัญญาณบนกล้ามเนื้อไป
การออกแรงซ้ำๆของกล้ามเนื้อมัดนั้นๆจะทำให้อาการอ่อนแรงเพิ่มขึ้น
ดังนั้นกล้ามเนื้อที่ทำงานมาก, ทำงานต่อเนื่องตลอดเวลาก็จะแสดง อาการได้บ่อย
สาเหตุ
ร่างกายสร้าง Ab ต่อโปรตีนชนิดหนึ่ง ที่ทำหน้าที่เป็นตัวรับสารอะซิติลโคลีน
สารอะซิติลโคลีน ไม่สามารถทำงานได้แม้ร่างกายจะ หลั่งสารนี้ออกมาอย่างปกติ เนื่องจากโปรตีนตัวรับถูก ทำลายโดย Abที่ร่างกายสร้างขึ้น
กรรมพันธุ์
Common pathophysiologic complications
สมอง (Brain)
เป็นอวัยวะที่ใหญ่ที่สุดในร่างกาย
ประกอบด้วยเซลล์ประสาทประมาณพันล้านเซลล์อยู่ในกะโหลกศีรษะ
เซลล์ประสาทในสมองแผ่กระจายกระแสไฟฟ้าอยู่ตลอดเวลา
สมองมีน้ำหนักประมาณ 1300-1500กรัม , เลือดในสมองมีประมาณ 2-4 มล./100กรัมของเนื้อสมอง,น้ำหล่อสมองและไขสันหลังประมาณ 100-120 มล.
ภาวะปกติค่าความดันในกะโหลกศีรษะเมื่อวัดในท่านอนประมาณ10-15 มม.ปรอท
มีกะโหลกศีรษะ ที่มีความหนาและแข็งแกร่ง ทำหน้าที่ป้องกันไม่ให้สมองได้รับความกระทบกระเทือน
Cerebral edema
ภาวะที่มีของเหลวส่วนเกินสะสมในสมอง
เกิดขึ้นกับสมองบางส่วนหรือทั่วทั้งสมอง จนทำให้สมองบวมและมีความดันในกะโหลกศีรษะเพิ่มขึ้น
สาเหตุส่วนใหญ่เกิดจากการบาดเจ็บและอาการเจ็บป่วยต่างๆ ภาวะนี้เกิดขึ้นอย่างรวดเร็วและ อาจเป็นอันตรายถึงชีวิตได้
ภาวะเพิ่มความดันในกะโหลกศีรษะ
เกิดการเคลื่อนที่ของเนื้อสมองจากที่มีความดันในกะโหลกสูงไปยังที่มีความดันต่ำกว่า
Cerebral edema
Vasogenic edema
เป็นผลจากการเพิ่มของเหลวนอกเซลล์
สาเหตุจากเนื้องอกเซลล์ขาดเลือดเป็นระยะเวลานานและการติดเชื้อ
มีการทำลายของ BBB ทำให้มีการเคลื่อนที่ ของน้ำและโปรตีนอย่างอิสระผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ ผ่านเข้าช่องว่างระหว่างเซลล์
ตัวกั้นระหว่างเลือดกับสมอง (Blood-brain barrier:BBB)
เป็นเยื่อที่เลือกให้สารบางอย่างผ่าน
แยกระบบไหลเวียนโลหิตออกจากสมองกับน้ำนอก
เซลล์ (extracellular fluid) ภายในระบบประสาทกลาง(CNS)
Cytotoxic edema หรือ Cellular edema
เป็นการบวมของของเหลวในเซลล์สมอง
เกิดจากภาวะ hypo
osmotic เช่นภาวะน้ำเป็นพิษ (water intoxication), การขาดเลือดไปเลี้ยงอย่างรุนแรง
ทำให้มีการเสื่อมสภาพของปั๊มโซเดียม
ปแตสเซียม ทำให้โซเดียมและน้ำเคลื่อนที่เข้ามาสะสมอยู่ในเซลล์ มีการลดปริมาณน้ำนอกเซลล์ในสมอง
3.Hydrostatic edema
มีการบวมรอบโพรงสมองจากแรงดันน้ำในภาวะน้ำคั่งในโพรงสมอง
(Hydrocephalus)
Hydrocephalus
ภาวะที่ CSF คั่งในกะโหลกมากผิดปกติ ร่วมกับการมีความดันในกะโหลกศีรษะเพิ่มขึ้น
-เกิดจากการคั่งของ CSF จากการอุดตันการ ไหลเวียนหรือการสร้างมากกว่าการดูดซึม กลับมาก
ภาวะความดันในกะโหลกศีรษะสูง (IICP)
เป็นผลจากการมีความพร่องของสมดุลระหว่าง ปริมาตรและความดันภายในกะโหลกศีรษะ
ความดันในกะโหลกศีรษะ (ICP) ~ 0–15 mmHg
ความดันในกะโหลกศีรษะเพิ่มขึ้นจะทำให้ เกิดอันตรายต่อเนื้อสมอง (brain injury) (>20 mmHg)
การบาดเจ็บที่ศีรษะ
การบาดเจ็บที่หนังศีรษะ(scalp injury)
เกิดจากแรงกระแทกโดยตรง
ทำให้เกิดรอยฟกช้ำ (contusion) หรือรอยฉีกขาด (laceration)
ไม่ทำให้เกิดความพิการทางสมอง เว้นเสียแต่
มีการเสียเลือดมากเกิดการฉีกขาดของเส้นเลือดที่เลี้ยง สมอง
เกิดแผลติดเชื้อลุกลามเข้าไปในสมอง
การบาดเจ็บที่กะโหลกศีรษะ (skull fracture)
เกิดจากแรงกระแทก หรือภยันตรายอย่างรุนแรง
เกิดการแตกของกะโหลก
มักมีการบาดเจ็บของสมองร่วมด้วย
ไม่ใช่เป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดความพิการทางสมอง
การบาดเจ็บที่สมองและหลอดเลือดสมอง
Fracture skull
Linear Fracture
ป็นเส้นตรง ขอบคมชัด คงรูปร่างเดิม
ไม่มีการรักษาโดยเฉพาะ
และมักสมานกันได้เอง
Depressed Fracture
พบในเด็กเล็กอายุน้อยกว่า 1 ปี กะโหลกแตกยุบแต่
Periosteum ไม่ฉีกขาด
ควรผ่าตัดยกกะโหลก
Skull base fracture หรือฐานกะโหลกศีรษะแตก
Massive bleeding เนื่องจากเลือดออกจากบริเวณที่กะโหลกแตกเลือดมักจะออกจากจมูกและหู
Cerebrospinal fluid (CSF) leakage เนื่องจากมีการฉีกขาดของเยื่อหุ้มสมอง ทำให้CSF รั่วออกมา
Cranial nerve (CN) injury โดยถ้าฐานกะโหลก ด้านหน้าแตก CN ที่พบบาดเจ็บได้แก่ CN II หรือ III ถ้าด้านหลังแตก คือ CN VII และ CN VIII
Cerebral Hemorrhage
Subdural hemorrhage เป็นภาวะที่มีเลือดออกระหว่าง เนื้อสมองกับเยื่อหุ้มสมองชั้น Dura
ก้อนเลือดเมื่อโตขึ้น จะกดสมองและทำให้เกิดความดันในสมองเพิ่ม
เกิดจาก countre-coup injury คือ ศีรษะถูกกระทบด้านหนึ่ง แต่สมองเคลื่อนไปกระทบกับกะโหลกอีกด้านหนึ่ง เกิดสมองช้ำและมีการฉีกขาดของหลอดเลือดบริเวณผิวสมอง
SDH มักสัมพันธ์กับ cerebral contusion และ subarachnoid hemorrhae
Intracerebralhematoma (ICH) หรือ cerebral contusion เป็นภาวะที่มีเลือดออกในกะโหลกศีรษะ ในเนื้อสมองส่วนที่เป็นโพรงสมอง (Ventricle) ซึ่งปกติเป็นที่อยู่ของ CSF
สาเหตุIntracerebralhemorrhage
-เกิดจากการกระทบกระเทือนรุนแรงต่อโพรงสมองโดยตรง
-พบได้ประมาณร้อยละ 30 ของเลือดออกในโพรงสมองทั้งหมด
มักเกิดจาก countre-coup injury เช่นเดียวกับ SDH อาจเกิดร่วมกับ SDH ได้
ICH มีโอกาสขยายขนาดได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งใน 6 ชั่วโมงแรก จึงควรสังเกตอาการอย่างใกล้ชิดและฉาย ภาพรังสีซ้ำ ถ้าผู้ป่วยมีอาการแย่ลง
Middle cerebral artery : MCA
เป็นแขนงที่เกิดอุดตันค่อนข้างบ่อย
ถ้าเกิดปัญหากับหลอดเลือดนี้จะมีผลทำให้เกิดการสูญเสียการรับรู้ ความรู้สึกและระบบประสาทสั่งการอย่างรุนแรงในใบหน้าส่วนล่างและ รยางค์บนของร่างกายซีกตรงข้าม
เป็นแขนงที่ใหญ่ที่สุดของ internal carotid artery ทอดเข้า ไปใน lateral fissure
MCA ให้แขนงเลี้ยง internal capsule ส่วนหน้าของ temporal lobe, frontal lobe, ผิวด้านข้างส่วนบนของ cerebral hemisphere ทั้งเหนือและใต้ต่อ lateral fissure และบางส่วนของ parietal temporal-occipital lobe
Basilar artery
เป็นหลอดเลือดที่เกิดจากการรวมกันของ right and left vertebral arteries แล้วทอดอยู่ทางด้านหน้าของ pons ขึ้นไปสิ้นสุดในระดับ midbrain โดยแยกเป็น right and left
posterior cerebral arteries:PCA
Posterior cerebral artery มี 2 ข้าง แต่ละข้างเชื่อมกับ posterior communicating arteries ของ circle of Willis
ทำให้ carotid system และ vertebro-basilar system เชื่อมต่อกัน posterior cerebral artery มีแขนงแยกไปเลี้ยง brainstem และ cerebral cortex บริเวณด้านล่างของ temporal lobe และ occipital lobe
Cerebral Vascular disease
Cerebral hypoxia
Cerebral ischemia
Cerebral infarction
Cerebrovascular Accident (Stroke)
สมองขาดออกซิเจน (Cerebral Hypoxia)
อาการที่สมองได้รับออกซิเจนไม่เพียงพอต่อความต้องการ
เกิดผลกระทบต่อร่างกาย เช่น อาการหายใจสั้นและถี่
ความจำเสื่อมชั่วคราว ชัก หรืออาจหมดสติได้
สาเหตุมาจากหลายปัจจัยเช่น โรคหอบ สำลักควัน โดนบีบรัดบริเวณคอ หรือจมน้ำ
อาจสร้างความเสียหายต่อสมองจนถึงขั้นสมองตายและทำให้เสียชีวิตได้