Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยวิกฤตในระบบหัวใจและการไหลเวียนโลหิต - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้ป่วยวิกฤตในระบบหัวใจและการไหลเวียนโลหิต
ภาวะความดันโลหิตสูงวิกฤติ (Hypertensive crisis)
ประเภท
Cardiovascular disease (CVD) โรคทางระบบหัวใจและหลอดเลือด
โรคหลอดเลือดสมอง
โรคของหลอดเลือดหัวใจโคโรนารี่
โรคหัวใจล้มเหลว
โรคของหลอดเลือดแดงส่วนปลายที่มีอาการ
Atheromatous plague และ Atrial fibrillation
Target organ damage(TOD)ความผิดปกติที่เกิดแก่อวัยวะในร่างกายจากความดันโลหิตสูง
หัวใจห้องล่างซ้ายโต
ภาวะโปรตีนขับออกมากับปัสสาวะ(microalbuminuria)โรคไตเรื้อรังในระดับปานกลางถึงรุนแรง
การแข็งตัวของหลอดเลือดแดง
Hypertensive urgency ภาวะความดันโลหิตสูงรุนแรงแต่ไม่มีอาการ
Hypertensive emergency
ภาวะความดันโลหิตสูงมากกว่า 180/120 มม.ปรอท ร่วมกับมีการทําลายของอวัยวะ
Acute MI, Stroke, และKidney failure
สาเหตุ
Acute or chronic renal disease
Exacerbation of chronic hypertension
การหยุดยาลดความดันโลหิตทันที (Sudden withdrawal of antihypertensive medications)
การใช้ยาคุมกําเนิด ยาต้านการอักเสบที่ไม่ใช่สเตียรอยด์
อาการและอาการแสดง
อาการทางสมอง hypertensive encephalopathy
ปวดศรีษะ การมองเห็นผิดปกติ สับสน คลื่นไส้ อาเจียน
กล่มอาการโรคหลอดเลือดหัวใจเฉียบพลัน (Acute cardiovascular syndromes)
กล้ามเนื้อหัวใจตาย (Myocardial infarction)
ภาวะเลือดเซาะในผนังหลอดเลือดเอออร์ต้า (Aortic dissection)
น้ําท่วมปอด (Pulmonary edema)
เจ็บแน่นหน้าอกแบบเฉียบพลัน/แบบไม่คงที่ (Unstable angina)
การซักประวัติ
โรคความดันโลหิตสูง
ความสม่ําเสมอในการรับประทานยา
การสูบบุหรี่
ประวัติความดันโลหิตสูงในครอบครัว
การตรวจร่างกาย
วัดสัญญาณชีพ
อาการ แขนขาชาหรืออ่อนแรงครึ่งซีก
การมองเห็นไม่ชัดหรือตามัวชั่วขณะ
ระดับความรู้สึกตัวผิดปกติ
Chest pain
oliguria or azotemia
การตรวจทางห้องปฏิบัติการและการตรวจพิเศษ
ตรวจ CBC ประเมินภาวะ microangiopathic hemolytic anemia (MAHA)
Creatinine และ Glomerular filtration rate (eGFR) และค่าอัลบูมินในปัสสาวะ
ตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ (12-lead ECG) และ chest X-ray
การรักษา
ยาลดความดันโลหิตชนิดฉีดเข้าหลอดเลือดดํา
การพยาบาล
ในระยะเฉียบพลัน
Neurologic symptoms ได้แก่ สับสน confusion, stupor, seizures, coma, or stroke.
Cardiacsymptoms ได้แก่ aortic dissection, myocardial ischemia, or dysrhythmias.
Acute kidney failure อาจจะไม่ได้เกิดขึ้นทันที BUN Cr จะมีค่าขึ้นสูงได้บ่งบอกถึงไตได้รับผลกระทบจากความดันโลหิตสูง
ในระหว่างได้รับยา
ผู้ป่วยที่เป็นโรคหัวใจและหลอดเลือด ไม่ควรลด SBP ลงมาต่ํากว่า120 มม.ปรอท
สังเกตอาการและอาการแสดงของภาวะเลือดไปเลี้ยงสมองลดลง
ปวดศีรษะ
คลื่นไส้
อาเจียน
ระดับความรู้สึกตัวลดลง(Time, place, person) สับสน
ปริมาณปัสสาวะสมดุลกับสารน้ำที่รับเข้าร่างกาย ค่า BUN Cr
ติดตามความดันโลหิตอย่างใกล้ชิด
การรักษาด้วย short-acting intravenous antihypertensive agents ได้แก่ sodium nitroprusside
เก็บยาให้พ้นแสงและตลอดการให้ยาแก่ผู้ป่วย
หากพบว่ายาเปลี่ยนสีเข้มขึ้น หรือเป็นสีส้ม น่ำตาล น้ำเงิน ห้ามใช้ยาเนื่องจากเกิดการสลายตัวของยาซึ่งจะปล่อย cyanide
ให้ยาทาง infusion pump เท่านั้นห้ามฉีดเข้าหลอดเลือดดําโดยตรง
ติดตามอาการไม่พึงประสงค์ ได้แก่ความดันโลหิตต่ําอย่างรวดเร็ว (excessive hypotension), หัวใจเต้นช้า, ภาวะกรด (acidosis),หลอดเลือดดำอักเสบ หัวใจเต้นเร็ว ความรู้สึกตัวเปลี่ยนแปลง หายใจตื้นเร็ว ชัก และหมดสติ
Cardiac dysrhythmias
Atrial fibrillation (AF)
ความหมาย
ภาวะหัวใจห้องบนเต้นสั่นพริ้ว เกิดจากจุดปล่อยกระแสไฟฟ้า (ectopic focus)ใน atrium สูงกระแสไฟฟ้าออกมาถี่และไม่สม่ําเสมอและไม่ประสานกัน
ประเภทของ AF
Paroxysmal AF หายได้เองภายใน 7 วันโดยไม่ต้องใช้ยา หรือการช็อคไฟฟ้า
Persistent AF ไม่หายได้เองภายใน 7 วัน หรือหายได้ดัวยการรักษาด้วยยา หรือการช็อคไฟฟ้า
Permanent AF เป็นนานติดต่อกันกว่า 1 ปีโดยไม่เคยรักษาหรือเคยรักษาแต่ไม่หาย
Recurrent AF ที่เกิดซ้ํามากกว่า 1 ครั้ง
Lone AF เป็นในผู้ป่วยอายุน้อยกว่า 60 ปี ที่ไม่มีความผิดปกติของหัวใจ โรคความดันโลหิตสูง
สาเหตุ
โรคหัวใจรูห์มาติก
ภาวะหัวใจล้มเหลว
โรคหัวใจขาดเลือด
ความดันโลหิตสูง เยื่อหุ้มหัวใจอักเสบ
ผู้ป่วยหลังผ่าตัดหัวใจ (open heart surgery)และ hyperthyrodism
อาการและอาการแสดง
ใจสั่น อ่อนเพลีย เหนื่อยเวลาออกแรง คลําชีพจรที่ข้อมือได้เบา
การพยาบาล
ดูแลให้ได้รับยาต้านการแข็งตัวของเลือดตามแผนการรักษาในผู้ป่วยที่มีข้อบ้งชี้ว่ามีลิ่มเลือดเกิดขึ้น
เตรียมผู้ป่วยและอุปกรณ์ในการทํา Cardioversion เพื่อให้หัวใจกลับมาเต้นในจังหวะปกติ
ดูแลให้ได้รับยาควบคุมการเต้นของหัวใจ เช่น digoxin, beta-blocker, calcium channel blockers, amiodarone
สังเกตอาการและอาการแสดงของการเกิดลิ่มเลือดอุดตัน สมอง ปอด แขนและขา
ประเมินการเปลี่ยนแปลงของสัญญาณชีพและคลื่นไฟฟ้าหัวใจอย่างต่อเนื่อง
เตรียมผู้ป่วยในการจี้ด้วยคลื่นไฟฟ้าความถี่สูง(Radiofrequency Ablation) ในผู7ปXวยที่เป็น AF และไม่สามารถควบคุมด้วยยาได้
Ventricular tachycardia (VT)
ภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ ชนิดที่ventricle เป็นจุดกําเนิดการเต้นของหัวใจ ในอัตราที่เร็วมากแต่สม่ำเสมอ 150-250 ครั้ง/นาที ซึ่งจุดกําเนิดอาจมีตําแหน่งเดียวหรือหลายตําแหน่ง
ประเภทของ
Nonsustained VT เกิดต่อเนื่องกันเป็นเวลาน้อยกว่า30วินาที
Sustained VT เกิดต่อเนื่องกันเป็นเวลานานกว่า 30วินาที ซึ่งมีผลทําให7ระบบไหลเวียนโลหิตในร่างกายลดลง
Monomorphic VT ลักษณะของ QRS complexเป็นรูปแบบเดียว
Polymorphic VT หรือ Torsade คือ ลักษณะของ QRS complexเป็นรูปแบบเดียว
สาเหตุ
โรคหัวใจรูห์มาติก
ถูกไฟฟ้าดูด
ผู้ป่วยกล้ามเนื้อหัวใจตายบริเวณกว้าง (Myocardial infarction)
ภาวะโพแทสเซียมในเลือดต่ํา
พิษจากยาดิจิทัลลิส (Digitalis toxicity)
กล้ามเนื้อหัวใจถูกกระตุ้นจากการตรวจสวนหัวใจ
อาการและอาการแสดง
ใจสั่น ความดันโลหิตต่ํา หน้ามืด เจ็บหน้าอก หายใจลําบาก หัวใจหยุดเต้น
การพยาบาล
นําเครื่อง Defibrillator มาที่เตียงผู้ป่วยและรายงานแพทย์ทันที และเปิดหลอดเลือดดําเพื่อให้ยาและสารน้ํา
คลําชีพจร ประเมินสัญญาณชีพ ระดับความรู้สึกตัว เจ็บหน้าอก ภาวะเขียว จํานวนปัสสาวะ
ดูแลให้ได้รับยาและแก้ไขสาเหตุหัวใจเต้นผิดจังหวะร่วมกับแพทย์
ในผู้ป่วยที่เกิด VTและคลําชีพจรได7ร่วมกับมีอาการของการไหลเวียนโลหิตในร่างกายลดลง ให้เตรียมผู้ป่วยในการทํา synchronized cardioversion
ในผู้ป่วยที่เกิด VTและคลําชีพจรไม่ได้ (Pulseless VT) ให้เตรียมเครื่องDefibrillator
Ventricular fibrillation (VF)
ความหมาย
ภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ ชนิดที่ventricle เป็นจุดกําเนิดการเต้นของหัวใจตําแหน่งเดียวหรือหลายตําแหน่ง เต้นรัวไม่เป็นจังหวะ ไม่สม่ำเสมอ
สาเหตุ
Hypovolemia,Hypoxia,Hydrogen ion (acidosis), Hypokalemia,Hyperkalemia
Hypothermia, Tension pneumothorax,Cardiac tamponade,Toxins, Pulmonary thrombosis,Coronary thrombosis
อาการและอาการแสดง
หมดสติ ไม่มีชีพจร รูม่านตาขยาย และเสียชีวิต
การพยาบาล
ให้ออกซิเจนตามแผนการรักษาเพื่อป้องกันภาวะ tissue hypoxia
ติดตามค่าเกลือแร่ในเลือด เพื่อหาสาเหตุนําของการเกิดภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ
ติดตามผลข้างเคียงของยาที่ใช้ในการรักษาผู้ป่วย
ติดตามและบันทึกระดับความรู้สึกตัว ความดันโลหิต สีของผิวหนัง อุณหภูมิของผิวหนัง จํานวนปัสสาวะ และ capillary refill time
ติดตามและบันทึกการเปลี่ยนแปลงของ สัญญาณชีพ คลื่นไฟฟ้าหัวใจ โดยเฉพาะ ST segment
ให้ยา antidysrhythmia ตามแผนการรักษาและเตรียมอุปกรณ์สําหรับทํา synchronized cardioversion ในผู้ป่วยที่เกิดภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะชนิดไม่รุนแรง
ทํา CPRร่วมกับทีมรักษาผู้ป่วย ในกรณีเกิดภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะชนิดรุนแรง
ภาวะหัวใจล้มเหลวเฉียบพลัน (Acute Heart Failure [AHF])
ความหมาย
การเกิดอาการและอาการแสดงของภาวะหัวใจล้มเหลวอย่างรวดเร็วจากการทํางานผิดปกติของหัวใจทั้งการบีบตัวหรือการคลายตัวของหัวใจ
สาเหตุ
ภาวะหัวใจเต้นผิดปกติ
ภาวะหัวใจวาย, กลไกการไหลเวียนของเลือดผิดปกติเฉียบพลัน
โรคหลอดเลือดหัวใจเฉียบพลัน
โรคหัวใจใดๆที่ทรุดลงตามการดําเนินโรค
ภาวะความดันโลหิตสูงวิกฤต
กล้ามเนื้อหัวใจอ่อนแรงจากความผิดปกติอื่นๆ
หลอดเลือดปอดอุดตันเฉียบพลัน
อาการและอาการแสดง
Acute decompensated heart failure มีอาการภาวะหัวใจล้มเหลวที่เกิดขึ้นเฉียบพลันแต่ไม่มีอาการรุนแรงมาก
Hypertensive acute heart failure มีอาการภาวะหัวใจล้มเหลวที่มีปอดบวมน้ํา โดยมีความดันโลหิตสูงรุนแรงร่วมด้วย แต่การทํางานของหัวใจห้องล่างซ้ายยังอยู่ในเกณฑ์ดี
Pulmonary edema มีอาการและอาการแสดงของปอดบวมน้ําร่วมด้วยอย่างชัดเจน
Cardiogenic shockหมายถึง ภาวะที่ร่างกายมี poor tissue perfusion ถึงแม้จะมีการแก้ไขภาวะขาดน้ำแล้วก็ตาม โดยมีความดันโลหิตsystolic ต่ํากว่า 90 mmHg
High output failure หมายถึง ภาวะหัวใจล้มเหลวโดยมีปริมาณเลือดที่ออกจากหัวใจต่อนาทีสูงกว่าปกติ มักมีหัวใจเต้นเร็ว ปลายมือเท้าอุ่น ร่วมกับการมีภาวะน้ำท่วมปอด
Right heart failureหมายถึง ภาวะที่หัวใจด้านขวาทํางานล้มเหลว มี ปริมาณเลือดที่ออกจากหัวใจต่อนาทีลดลง ร่วมกับมีการเพิ่มขึ้นของความดันหลอดเลือดดําที่คอ
อาการและอาการแสดงที่พบบ่อย
หายใจเหนื่อยหอบ นอนราบไม่ได้ อ่อนเพลีย บวมตามแขนขา
ความดันโลหิตปกติหรือ ต่ํา/สูง ท้องอืดโต แน่นท้อง ปnสสาวะออกน้อย/มาก หัวใจเต้นเร็ว หายใจเร็ว
เส้นเลือดดําที่คอโป่งพอง ฟังได้ยินเสียงปอดผิดปกติ(Lung crepitation) จากการที่มีเลือดคั่งในปอด(Pulmonary congestion)
การรักษา
การดึงน้ำและเกลือแร่ที่คั่งออกจากร่างกาย
การจํากัดสารน้ําและเกลือโซเดียม
การเจาะระบายน้ำ
การให้ยาขับปัสสาวะ
การใช้ยา
ยาขยายหลอดเลือดหัวใจเช่น nitroglycerine/isodril(NTG)
ยาขยายหลอดเลือด เช่นsodium nitroprusside (NTP)
ยารักษาภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ เช่นamiodaronel
ยาที่ใช้ในช็อคเช่น adrenaline, dopamine, dobutamine, norepinephrine (levophed)
ยาเพิ่มแรงบีบตัวของหัวใจเช่น digitalis (digoxin)
ยาบรรเทาอาการเจ็บหน้าอก
ยาละลายลิ่มเลือด เช่น coumadine
ยาต้านการจับตัวของเกล็ดเลือด เช่น aspirin, plavix, clopidogr
ลดการทํางานของหัวใจ
การให้ออกซิเจน
การใส่เครื่องกระตุ้นไฟฟ้าหัวใจ (Cardiac pacemaker)
Intra-aortic balloon pump
การขยายหลอดเลือดหัวใจด้วยบอลลูน (Percutaneous coronary intervention)
รักษาที่สาเหตุ
การขยายหลอดเลือดหัวใจโคโรนารี
การรักษาภาวะติดเชื้อ
การเปลี่ยนลิ้นหัวใจในโคโรนารี
การพยาบาล
การลดการทํางานของหัวใจ
ดูแลจํากัดสารน้ำและเกลือโซเดียม
ดูแลจัดท่านอนศรีษะสูง
ดูแลให้ได้รับยาขยายหลอดเลือดตามแผนการรักษา
ดูแลจํากัดกิจกรรมแบบสมบูรณ์ (Absolute bed rest)
ดูแลให้ได้รับยาขับปัสสาวะตามแผนการรักษา
ลดความต้องการใช้ออกซิเจนของร่างกาย
ดูแลควบคุมอาการปวดโดยให้ยาตามแผนการรักษา
ดูแลช่วยให้ได้รับการใส่เครื่องพยุงหัวใจ
ดูแลจํากัดกิจกรรมแบบสมบูรณ์ (Absolute bed rest)หรือช่วยในการทํากิจกรรม
ดูแลให้ได้รับยาลด/ควบคุม จังหวะหรืออัตราการเต้นของหัวใจ
การเพิ่มประสิทธิภาพการบีบตัวของกล้ามเนื้อหัวใจ
ดูแลให้ได้รับยาช่วยเพิ่มแรงบีบตัวของหัวใจ โดยประเมินอัตราการเต้นของหัวใจก่อน
ดูแลให้ได้รับยาเพิ่มประสิทธิภาพการบีบตัวของหัวใจตามแผนการรักษา
ภาวะช็อก (Shock)
ประเภทของช็อก
ช็อกจากการขาดสารน้ำ(Hypovolemic shock)
การสูญเสียมากกว่า 30-40% ของปริมาตรเลือด
ปริมาณเลือดที่กลับเข้าสู่หัวใจ(Venous return หรือ preload)ลดลง
ช็อกจากภาวะหัวใจล้มเหลว(Cardiogenic shock)
เกิดจากหัวใจไม่สามารถส่งจ่ายเลือดไปยังส่วนต่างๆของร่างกาย โดยที่มีปริมาตรเลือดในระบบไหลเวียนโลหิตอย่างเพียงพอ
ช็อกจากหลอดเลือดมีการขยายตัว(Distributive shock, vasogenic / vasodilatory shock, Inflammatory shock)
เป็นภาวะช็อกที่มีสาเหตุจากหลอดเลือดส่วนปลายขยายตัว ทําให้เกิดการลดลงของแรงต้านทานของหลอดเลือด (SVR)ร;วมกับมีการไหลเวียนเลือดในระบบลดลง
สาเหตุ
ภาวะช็อกจากการติดเชื้อ(Septic shock)
ภาวะช็อกจากการแพ้(Anaphylactic shock)
ภาวะช็อกจากการทํางานผิดปกติของต่อมหมวกไต(Hypoadrenal /adrenocortical shock)
ช็อกจากการอุดกั้นการไหลเวียนของเลือดเข้าสู่หัวใจ(Obstructive shock)
เกิดจากการอุดกั้นการไหลเวียนของโลหิตไปสู่หัวใจห้องซ้ายจากสาเหตุภายนอกหัวใจ ส่งผลให้ปริมาณเลือดที่ออกจากหัวใจลดลง
สาเหตุ
Cardiac tamponade
tension pneumothorax
pulmonary embolism
ช็อกจากความผิดปกติของระบบประสาท(Neurogenic shock)
เกิดจากความบกพร่องในการควบคุมของระบบประสาทอัตโนมัติ ที่ควบคุมการขยายตัวและการหดตัวของหลอดเลือด (Vasomotor tone) เป็นผลให้มีการขยายตัวของหลอดเลือดดําและหลอดเลือดแดงขึ้นทันใด ส่งผลให้เลือดมีการกระจายตัวไปยังหลอดเลือดส่วนปลายมากขึ้นหัวใจมีการเต้นช้าลง
ระยะของช็อก
ภาวะช็อกที่สามารถชดเชยได้ในระยะท้าย (Decompensated shock)
ภาวะช็อกที่ไม่สามารถชดเชยได้(Irreversible shock)
ภาวะช็อกที่สามารถชดเชยได้ในระยะแรก (Compensated shock)
ความหมาย
เป็นภาวะที่เกิดความผิดปกติทางสรีรวิทยาส่งผลให้ปริมาณออกซิเจนที่ส่งไปเลี้ยงเนื้อเยื่อทั่วร่างกายลดต่ำลงกว่าความต้องการใช้ออกซิเจนของเนื้อเยื่อและอวัยวะ นําไปสู่ความผิดปกติของการทํางานของอวัยวะต่างๆจากการขาดออกซิเจนในระดับเซลล์ (Cellular dysoxia)
อาการและอาการแสดง
หายใจเร็วลึก ระดับออกซิเจนในเลือดต่ํา ระบบหายใจล้มเหลว
ปัสสาวะออกน้อย
ชีพจรเบาเร็ว หัวใจเตเนผิดจังหวะ กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด หลอดเลือดส่วนปลายหดตัว ผิวหนังเย็นซีด
กระเพาะอาหารและลําไส้ขาดเลือด ตับอ่อนอักเสบ ดีซ่าน การย่อยและดูดซึมอาหารผิดปกติ ตับวาย
กระสับกระส่าย ซึม หมดสติ เซลล์สมองตาย
การแข็งตัวของเลือดผิดปกติ ภาวะลิ่มเลือดกระจายทั่วร่างกาย เม็ดเลือดขาวทํางานบกพร่อง
น้ําตาลในเลือดสูงหรือต่ำ ภาวะร่างกายเป็นกรด
การรักษา
ให้ยาที่มีผลต่อการบีบตัวของหัวใจ
Dopamine, Dobutamine, Epinephrine Norepinephrine
แก้ไขภาวะพร่องออกซิเจนของเนื้อเยื่อและการลดการใช้ออกซิเจน
ให้สารน้ำ
Ringer's lactate solution (RLS), 0.9% NSS
รักษาที่เฉพาะเจาะจงตามสาเหตุของภาวะช็อก เช่น การให้ยาปฏิชีวนะ
แก้ไขความผิดปกติของภาวะกรดด่าง
การพยาบาล
ประเมิน
การซักประวัติ ได้แก่ประวัติโรคหัวใจ การสูญเสียสารน้ำ การติดเชื้อ การได้รับการบาดเจ็บ อุบัติเหตุ การใช้ยา ประวัติการแพ้
การตรวจร่างกาย ได้แก่ การประเมินทางเดินหายใจ การประเมินลักษณะและอัตราการหายใจ การประเมินการไหลเวียนโลหิตและการทํางานของหัวใจ และ การประเมินระดับความรู้สึกตัว
ตรวจทางห้องปฏิบัติการ เช่น CBC, BUN, Cr, electrolyte, lactic acid, arterial blood gas, coagulation, specimens culture
ตรวจพิเศษ เช่น x-ray, CT, echocardiogram, ultrasound.
ป้องกันเนื้อเยื่อขาดออกซิเจน
ประเมินภาวะขาดออกซิเจน โดยการติดตามสัญญาณชีพทุก 1ชั่วโมง ประเมินระดับความรู้สึกตัว อาการเขียวจากริมฝีปาก เล็บมือ เล็บเท้า ค่าความอิ่มตัวของออกซิเจน ABG
ดูแลทางเดินหายใจให้โล่ง มีการระบายอากาศที่ดี โดยการดูดเสมหะ จัดท่านอนศีรษะสูง กระตุ้นให้หายใจลึกๆ
ดูแลให้ได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอ โดยให้ออกซิเจนตามความเหมาะสมและแผนการรักษา
ส่งเสริมการไหลเวียนโลหิตอย่างเพียงพอกับความต้องการของร่างกาย
ดูแลให้สารน้ําและอิเล็กโตรไลท์ทดแทนตามแผนการรักษา
ดูแลให้ยา Dopamine, Dobutamine, Epinephrine Norepinephrine
ดูแลจัดท่านอนหงายราบ ยกปลายเท้าสูง 20-30 องศา
ประเมินสัญญาณชีพ รวมถึงค่า MAP ทุก 1ชั่วโมง
บันทึกปริมาณสารน้ําเข้าออกจากร่างกาย และ ติดตามปริมาณปัสสาวะทุก 1-2 ชั่วโมง
แก้ไขสาเหตุที่ทําให้เกิดภาวะช็อก
ดูแลให้ยาละลายลิ่มเลือดตามแผนการรักษาเพื่อแก้ไขภาวะกล้ามเนื้อหัวใจตาย (กรณีช็อกจากภาวะหัวใจล้มเหลว)
ดูแลให้ยา Chlorpheniramine 1 amp V เพื่อแก้ไขภาวะแพ้
เตรียมผู้ป่วยเพื่อให้ได้รับการทํา PTCA, CABG
ดูแลเตรียมให้ได้รับการตรวจเพื่อหาสาเหตุ เช่น การทําgastric lavage การทํา EGD (กรณีช็อกจากการสูญเสียเลือด)
ส่งเสริมการปรับตัวของผู้ป่วยและครอบครัวต่อภาวะวิกฤตที่เกิดขึ้น
ให้เข้อมูล อธิบายเหตุผลก่อนทํากิจกรรมการพยาบาล
เปิดโอกาสให้ผู้ป่วยและครอบครัวได้ระบายความรู้สึก วิตกกังวล และซักถามข้อข้องใจเกี่ยวกับการเจ็บป่วย
ให้ผู้ป่วยและครอบครัวมีส่วนร่วมในการวางแผนการพยาบาล
ให้กําลังใจและสนับสนุนทางด้านจิตใจ ดูแลเอาใจใส่สม่ำเสมอทั้งผู้ป่วยและครอบครัว
ช่วยเหลือในการติดต่อสื่อสาร เป็นสื่อกลางระหว่างผู้ป่วย ครอบครัวและทีมรักษา