Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์ Pregnancy Induced Hypertension :smiley:, …
ภาวะความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์ Pregnancy Induced Hypertension :smiley:
ระดับความดันโลหิตในสตรีตั้งครรภ์ :red_flag:
ระดับความดันโลหิตต่ำกว่าขณะที่ไม่ตั้งครรภ์ต่ำสุดในระยะไตรมาสที่ 2 จากนั้นจะเพิ่มขึ้นในไตรมาสที่ 3 จนอยู่ในระดับเดียวกับตอนที่ไม่ได้ตั้งครรภ์
การลดตํ่าลงของความดันโลหิตระหว่างตั้งครรภ์เกิดจาก
vascular tone ลดลงเพราะฮอร์โมนโปรเจสเตอโรนจึงทำให้เกิด low resistance ในระบบไหลเวียน
เรื่องสำคัญของระดับความดันโลหิตในสตรีตั้งครรภ์
การสังเกต การวินิจฉัย และการบันทึกความดันโลหิต
ขณะตั้งครรภ์
มีการกระตุ้นให้ผลิตฮอร์โมน และเอนไซม์มากขึ้น
ระดับของเอนชัยม์ renin ในพลาสมาจะสูงขึ้น
การสร้าง angiotensin | จะเปลี่ยนไปเป็น angiotensin และเป็น vasoconstrictor กระตุ้นให้ความดันโลหิตสูงขึ้น
angiotensin II เริ่มมีตั้งแต่อายุครรภ์ประมาณ 10 สัปดาห์
ขณะนั่งความดันจะสูงสุด
นอนตะแคงความดันจะต่ำสุด
ขณะวัดควรอยู่ในท่าใดท่าหนึ่งเพื่อจะได้นำผลเเต่ละครั้งมาเปรียบเทียบกันได้อย่างเเม่นยำ
ชนิดของภาวะความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์ :red_flag:
ความดันโลหิตสูงจากการตั้งครรภ์ (gestational hypertension)
เกิดครั้งแรกระหว่างการตั้งครรภ์หลังอายุครรภ์ 20 สัปดาห์โดยไม่มีโปรตีนในปัสสาวะ
ความดันโลหิตกลับสู่ระดับปกติภายใน 12 สัปดาห์หลังคลอด
ประมาณร้อยละ 50 จะพัฒนาไปเป็นภาวะครรภ์เป็นพิษ
ความดันโลหิตสูงเรื้อรัง (chronic / preexisting hypertension)
ภาวะความดันโลหิตสูงที่เป็นมาก่อนการตั้งครรภ์
วินิจฉัยได้ก่อนอายุครรภ์ 20 สัปดาห์โดยที่ความดันโลหิตสูงเกิดจากสาเหตุอื่นที่ไม่ใช่ gestational trophoblastic diseases
วินิจฉัยความดันโลหิตสูงได้ครั้งแรกหลังอายุครรภ์ 20 สัปดาห์ความดันโลหิตนั้นยังคงสูงอยู่นานกว่า 12 สัปดาห์หลังคลอด
ครรภ์เป็นพิษหรือภาวะครรภ์เป็นพิษระยะก่อนชัก (preeclampsia)
กลุ่มอาการ (Syndrome) ของความดันโลหิตที่พบครั้งแรกในขณะตั้งครรภ์หลังอายุครรภ์ 20 สัปดาห์ร่วมกับมีโปรตีนในปัสสาวะ
วินิจฉัยโดยใช้เกณฑ์การตรวจพบความดันโลหิตสูงร่วมกับเกณฑ์การทำงานผิดปกติของอวัยวะสำคัญ (end-organ dysfunction) อย่างน้อย 1 อย่าง
ครรภ์เป็นพิษระยะชัก (eclampsia)
หาสาเหตุของการชักไม่ได้
การชักไม่ได้เกิดจากสาเหตุอื่น
EX เช่นลมบ้าหมูหรือโรคทางสมอง
ครรภ์เป็นพิษซ้อนทับกับความดันโลหิตสูงเรื้อรัง (preeclampsia superimposed on chronic hypertension)
การวินิจฉัยภาวะ Superimposed preeclampsia ในสตรีความดันโลหิตสูงเรื้อรังที่ไม่เคยมีโปรตีนในปัสสาวะก่อนอายุครรภ์ 20 สัปดาห์
พบโปรตีนในปัสสาวะที่เกิดขึ้นใหม่สำหรับสตรีความดันโลหิตสูงเรื้อรังที่มีโปรตีนในปัสสาวะ
ตรวจพบโปรตีนในปัสสาวะที่เพิ่มขึ้นอย่างชัดเจนหรือพบการทำงานผิดปกติของอวัยวะสำคัญอย่างน้อย 1 อย่าง
ความหมายของภาวะโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์ :red_flag:
ภาวะความดันโลหิตสูง (hypertension)
ภาวะที่ค่าความดันโลหิตช่วงหัวใจบีบตัว (Systolic BP) อย่างน้อย 140 mmHg
2ภาวะความดันโลหิตสูงเนื่องจากการตั้งครรภ์ (Pregnancy Induced Hypertension: PIH)
ภาวะความดันโลหิตสูงที่มีสาเหตุจากการตั้งครรภ์พบในระยะครึ่งหลังของการตั้งครรภ์
อาจพบร่วมกับอาการบวม เเละภาวะ gestational hypertension, preeclampsia และ eclampsia
ภาวะความดันโลหิตสูงหลังคลอด (postpartum hypertension)
สตรีที่มีความดันโลหิตปกติขณะตั้งครรภ์ (normotensive gestation) แล้วมีความดันโลหิตสูงขึ้นในช่วง 2 สัปดาห์หลังคลอดถึง 6 เดือนหลังคลอดจากนั้นความดันโลหิตกลับสู่ปกติในปลายปีแรก
ภาวะนี้พบได้น้อย
ภาวะที่ต้องตระหนักเฝ้าระวังติดตามและเป็นปัจจัยทำนายการเกิดความดันโลหิตสูงเรื้อรังในอนาคต
สาเหตุและพยาธิกำเนิดของภาวะความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์ :red_flag:
ระยะที่ 1 ระยะก่อนแสดงอาการ (preclinical หรือ asymptomatic stage)
เกิดขึ้นตั้งแต่ระยะแรกของการตั้งครรภ์ทารกจะรุกล้ำเข้าไปใน maternal spiral arteries และมี remodeling of spiral arterioles
มีการปรับเปลี่ยนจากลักษณะเนื้อเยื่อบุผิวไปเป็นลักษณะเนื้อเยื่อบุโพรงหลอดเลือด (epithelial to endothelial phenotype)
เรียกกระบวนการนี้ว่า psuedovasculogenesis และมีการพัฒนาต่อไปจนหลอดเลือดขยาย
กระบวนการนี้เริ่มในระยะท้ายของไตรมาสแรกและเสร็จสิ้นเมื่ออายุครรภ์ประมาณ 18-20 สัปดาห์
ระยะที่ 2 ระยะแสดงอาการ (clinical stage) : :
รกที่ขาดออกซิเจนจะมีการหลั่งสารต่างออกมาในกระแสเลือด
proinflammatory และ antiangiogenic factors ทำให้เซลล์โพรงหลอดเลือดบาดเจ็บและขาดเลือดเกิดความผิดปกติ
สาเหตุให้เกิด systemic inflammatory response และ endothelial activation
อาการแสดงทางคลินิกที่สำคัญ
ความดันโลหิตสูงภาวะมีโปรตีนในปัสสาวะและอาการตามระบบต่าง ๆ ของร่างกาย
พยาธิสรีรภาพของภาวะความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์ :red_flag:
ระบบไต (renal system)
ระบบหัวใจและปอด (cardiopulmonary system)
ระบบเลือดและการแข็งตัวของเลือด (hematologic and coagulation system)
ระบบดับ (hepatic system)
ระบบประสาท (neurological system)
ระบบการมองเห็น (visual system)
รกและมดลูก (placenta and uterus)
ยาที่ใช้ในการรักษาภาวะความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์ :red_flag:
ยาป้องกันการชัก (anticonvulsant) :check:
Magnesium Sulfate (MgSO4)
MgSO4 ใช้รักษาภาวะ preeclampsia ยาออกฤทธิ์ลดการกระตุ้นระบบประสาทส่วนกลาง
ยามีฤทธิ์ทำให้เกิดการขยายตัวของหลอดเลือดเพิ่มการไหวเวียนเลือดไปเลี้ยงที่มดลูกและไตทำให้ความดันโลหิตลดลง
การบริหารยา
เริ่มให้ loading doseริมาณ 4.6 gm. ทางหลอดเลือดดำช้า ๆ นาน 15-20 นาที
maintenance dose ด้วย 50%AMgSO4 ปริมาณ 10-20 gm. ในสารละลาย 596 DW 1,000 mL หยดทางหลอดเลือดดำในอัตรา 2 gm. ต่อชั่วโมง
ควรให้ยานี้ต่ออย่างน้อย 24-48 ชั่วโมงหลังคลอด
กรณีเกิดการชักซ้ำควรให้ MgSO4 ทางหลอดเลือดดำปริมาณ 2.4 gm. เป็นเวลานาน 5 นาที
ผลข้างเคียง
MgSO4 ออกฤทธิ์ทำให้กล้ามเนื้อเรียบคลายตัว ยุติการตั้งครรภ์ใช้ยา Oxytocin ช่วยกระตุ้นการหดรัดตัว
MgSO4 ขับออกทางไตมีอาจทำให้เกิดการสะสมของ magnesium ในกระแสเลือด
ยาลดความดันโลหิต (antihypertensive dtruss) :check:
Hydralazine (Apresoline®หรือNepresol®)
ยาออกฤทธิ์โดยตรงที่กล้ามเนื้อเรียบของหลอดเลือดทำให้หลอดเลือดคลายตัวมีผลทำให้ความดันโลหิตลดลง
การบริหารยา
เริ่มให้ยาครั้งแรกขนาด 5 mg. ฉีดเข้าทางหลอดเลือดดำใน 2 นาที
หลังจากนั้น 20 นาทีหาก diastolic BP 110 mmHg ให้ยาซ้ำได้อีก 10 mg, ทุก 20 นาที
ผลข้างเคียง
ปวดศีรษะ วิงเวียนศีรษะคล้ายจะเป็นลม คลื่นไส้ อาเจียน ใจสั่น หัวใจเต้นผิดปกติ
Labetalol (Avexor®)
ออกฤทธิ์ยับยั้งระบบประสาท syspathetic ส่วนปลายมีผลลดความต้านทานของหลอดเลือดส่วนปลาย
ยาที่ควบคุมความดันโลหิตสูงจากการตั้งครรภ์ได้ดีผลข้างเคียงต่ำกว่า hydralazine
ห้ามใช้ในรายหอบหืดหัวใจล้มเหลวหัวใจเต้นช้าอย่างรุนแรง heart block และภาวะที่มีความดันโลหิตต่ำรุนแรง
การบริหารยา
เริ่มให้ยาครั้งแรกที่ขนาด 20 mg, เข้าหลอดเลือดดำช้าๆนาน 2 นาทีแล้ววัดความดันโลหิตซ้ำทุก 10 นาที
หากความดันโลหิตยังไม่ลดให้ซ้ำได้ทุก 10-15 นาทีในขนาด 40, 80, 80, และ 80 mg, ตามลำดับ
ผลข้างเคียง
ความดันโลหิตต่ำเวียนศีรษะ คลื่นไส้คัดจมูกหายใจลำบาก
Nifedipine (Adalat)
ออกฤทธิ์ในการลดความดันโลหิตโดยการป้องกัน calcium เข้าสู่เซลล์กล้ามเนื้อหัวใจและหลอดเลือด
การบริหารยา
1.ให้ในรูปแบบยารับประทานเท่านั้นนิยมให้ยาขนาด 10-20 mg และให้ยาซ้ำได้ทุก 15-30 นาที
ไม่ควรให้ยาแบบอมใต้ลิ้นเนื่องจากเสี่ยงต่อการเกิดความดันโลหิตต่ำ
หากระดับความดันโลหิตยังที่วัดซ้ำยังอยู่ที่ระดับ 140/100 mmHg ระดับยาที่ได้รับไม่ควรเกิน 120 mg / 24 hr.
ผลข้างเคียง
ปวดศีรษะเวียนศีรษะ ใจสั่นคลื่นไส้เหงือกอักเสบ
การพยาบาลสตรีที่มีภาวะความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์ :red_flag:
การพยาบาลสตรีที่มีภาวะ preeclampsia without severe features
1 ดูแลให้นอนพักบนเตียง (bed rest) ในท่านอนตะแคงซ้าย
2 ประเมินสัญญาณชีพโดยเฉพาะความดันโลหิตทุก 4 ชั่วโมง
3 ดูแลและติดตามประเมินผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
4 เฝ้าระวังติดตามอาการและอาการแสดงของ preeclampsia ที่รุนแรงขึ้น
5 ดูแลให้รับประทานอาหารธรรมดาบันทึกสารน้ำเข้า
6 ดูแลติดตามการประเมินสุขภาพทารกในครรภ์
7 ประเมินและให้การประคับประคองสภาวะทางอารมณ์และจิตใจอย่างเหมาะสม
การพยาบาลสตรีตั้งครรภ์ที่มีภาวะ preeclampsia with severe features
1 ดูแลให้นอนพักบนเตียงอย่างเต็มที่ (absolute bed rest) โดยจัดสิ่งแวดล้อมให้เงียบ
2 ประเมินสัญญาณชีพโดยเฉพาะความดันโลหิตทุก 1 ชั่วโมง
4 ประเมินอาการนำก่อนการซัก
3 บันทึกปริมาณสารน้ำเข้าและออกในแต่ละวัน
6 ดูแลให้ยาลดความดันโลหิตตามแผนการรักษา
7 ดูแลและส่งเสริมการขับสารน้ำออกจากร่างกายโดยให้นอนตะแคงซ้ายบันทึกปริมาณสาน้ำเข้าและออก
8 ติดตามประเมินระดับ Oxygen saturation ดูแลให้ได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอ
9 ดูแลให้ทารกปลอดภัยจากภาวะแทรกซ้อน
10 ดูแลให้การตั้งครรภ์สิ้นสุดลงอย่างปลอดภัย
การพยาบาลสตรีตั้งครรภ์ที่มีภาวะ clampsia
1 ใส่ oral airway หรือ mouth gag เพื่อป้องกันไม่ให้กัดลิ้น
2 จัดให้นอนตะแคงใส่ไม้กั้นเตียงโดยใช้หมอนรองรับรอบด้านเพื่อป้องกันอันตรายจากการชัก
3 ให้ออกซิเจนขณะชักและภายหลังชักและประเมินความรุนแรงของการขาดออกซิเจน
4 ดูแลให้ได้รับยาระงับชักตามแผนการรักษา
5 ประเมินสัญญาณชีพเป็นระยะอย่างต่อเนื่องอย่างน้อยทุก 1 ชั่วโมง
6 บันทึกปริมาณสารน้ำเข้าและออกจากร่างกาย
7 สังเกตและบันทึกอาการทางสมอง
8 สังเกตและบันทึกอาการนำของการชักระยะเวลาของการชักระยะเวลาที่หยุดหายใจ
9 รายงานแพทย์เมื่อมีอาการนำของการชัก
10 ให้งดอาหารและน้ำตามแผนการรักษา
11 จัดสิ่งแวดล้อมให้สงบและลดสิ่งกระตุ้นให้เกิดการซัก
12 ประเมินอัตราการเต้นของหัวใจทารกในครรภ์เป็นระยะการหดรัดตัวของมดลูกความก้าวหน้าของการคลอดและการแตกของถุงน้ำคร่ำหลังการชัก
13 เตรียมสตรีตั้งครรภ์เพื่อคลอดตามสถานการณ์
14 ดูแลป้องกันการซักซ้ำภายหลังคลอด
15 ให้การดูแลป้องกันการตกเลือดหลังคลอด
16 ดูแลทารกแรกเกิดซึ่งอาจมีภาวะขาดออกซิเจนคลอดก่อนกำหนด
:<3:
:<3:
:<3:
:<3:
:<3:
:<3:
:<3:
:<3:
:<3:
:<3:
:<3:
:<3:
:<3:
:<3:
:<3:
:<3: