Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะอาเจียนรุนแรงในระยะตั้งครรภ์ (Hyperemesis gravidarum) - Coggle Diagram
ภาวะอาเจียนรุนแรงในระยะตั้งครรภ์
(Hyperemesis gravidarum)
สาเหตุ
ปัจจัยด้านมารดา
รับประทานอาหารที่มีไขมันสูง ขาดวิตามินบางชนิดโดยเฉพาะวิตามินบี 6
กระเพาะอาหารมีการเคลื่อนไหวลดลง จากการเพิ่มขึ้นของฮอร์โมนโปรเจสเตอร์โรน progesterone ขณะตั้งครรภ์ ทำให้หลั่งกรดไฮโดรคลอริค hydrochloric acid: HCI) ลดลง
มีประวัติการแพ้ท้องอย่างรุนแรงในครรภ์ก่อน
หรือเป็นการตั้งครรภ์ครั้งแรก
สภาพจิตใจ ความเครียด ความวิตกกังวล
การตั้งครรภ์ที่มีระดับฮอร์โมน estrogen สูง หรือมีระดับ human
chorinoic gonadotropin (hCG) เพิ่มมากกว่าปกติ
มีความผิดปกติของระบบทางเดินอาหาร เช่น กระเพาะอาหารหรือลำไส้อักเสบ ถุงน้ำดีอักเสบ ตับอ่อนอักเสบ ไส้ติ่งอักเสบ ลำไส้อุดตัน
ปัจจัยด้านทารก
ทารกมีความผิดปกติเกี่ยวกับโครโมโซม triploidy, trisomy 21
และ ทารกบวมน้ำ (hydrops fetalis)
อาการและ
อาการแสดง
อาเจียนไม่รุนแรงมาก สามารถทำกิจวัตรประจำวันได้ตามปกติ
อาการอาเจียนรุนแรงมากขึ้น คือมีอาการอาเจียน 5-10 ครั้งต่อวัน หรือมากกว่า เป็นเวลาหลายวัน
อาการคลื่นไส้อาเจียนอย่างรุนแรง
เป็นระยะเวลานานอาจตลอดทั้งวัน
มีอาการแสดงของภาวะขาดสารน้ำ (dehydration)
ได้แก่ อ่อนเพลีย
ขาดสารอาหาร และน้ำหนักลดลงมาก
ผลกระทบต่อ
การตั้งครรภ์
ผลกระทบ
ต่อมารดา
เกิดภาวะความเป็นกรดในร่างกาย มีอาการกระสับกระส่าย
ไม่รู้สึกตัว หมดสต
ชาปลายมือปลายเท้าจากการขาดวิตามิน B1
ขาดวิตามินซีและวิตามินบีรวม
ทำให้ร่างกายเกิดการขาดน้ำ ทำให้อุณหภูมิสูงขึ้น ชีพจรเบาเร็วและความดันโลหิตต่ำลง ปัสสาวะออกน้อย
การแข็งตัวของเลือดเสียไป
ผลกระทบต่อ
ทารกในครรภ์
หากสตรีตั้งครรภ์อาการรุนแรงมาก เกิดภาวะเป็นกรดอาจทำให้ทารกมีอาการทางสมอง เกิดภาวะ Wernicke’s encephalopathy
อาจทำให้แท้ง คลอดก่อนกำหนด ทารกอาจตายคลอด
สตรีตั้งครรภ์มีน้ำหนักลดลงมาก จะทำให้ทารกในครรภ์เติบโตช้า และน้ำหนักแรกคลอดน้อยกว่าปกต
การวินิจฉัย
การซักประวัติ
ตรวจร่างกาย
การขาดสารน้ำขาดสารอาหาร น้ำหนักตัว
และสภาพจิตใจ
ประเมินจากอาการและอาการแสดงของ
การอาเจียนรุนแรง
การตรวจพิเศษ
การตรวจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง
การเจาะตรวจน้ำคร่ำ เช่น การตั้งครรภ์แฝด
ครรภ์ไข่ปลาอุก trisomy21
ตรวจห้อง
ปฏิบัติการ
การตรวจปัสสาะ พบว่ามีความถ่วงจำเพาะสูง
ไข่ขาวในปัสสาวะเพิ่มขึ้น
การตรวจเลือด พบฮีมาโตคริตสูง BUN สูง โซเดียมต่ำ โปแตสเซียมต่ำ คลอไรด์ต่ำ SGOT สูง LFT สูง และโปรตีนในเลือดต่ำ
แนวทางการรักษา
หากอาการรุนแรงมาก ควร NPO ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ 5% D/NSS 1,000 ml. ทางหลอดเลือดดำ
การรักษาด้วยยา แก้คลื่นไส้อาเจียน
วิตามินรวม ยาคลายกังวล และยานอนหลับ
ากอาการไม่รุนแรงสามารถรับประทานอาหารได้ ให้รับประทาน น้ำตะไคร้ น้ำใบเตย กล้วย
ให้รับประทานอาหารอ่อน ครั้งละน้อยแต่บ่อยครั้ง
ทุก 2-3 ชั่วโมง ควรรับประทานอาหารที่มีโปรตีนสูง
ขนมปังกรอบ หลีกเลี่ยงอาหารรสเผ็ด อาหารมัน
ควรวินิจฉัยแยกโรคภาวะอาเจียนอย่างรุนแรงจากอาการของโรคอื่นๆ เช่น โรคตับอักเสบ
การพยาบาล
การพยาบาลสตรีตั้งครรภ์ที่
ได้รับการรักษาแบบผู้ป่วยนอก
รับประทานอาหารครั้งละน้อยๆ แต่บ่อยครั้ง
ไม่ควรให้กระเพาะอาหารว่าง
งดอาหารไขมัน เพราะย่อยยาก
ทำให้คลื่นไส้ รับประทานขนมปังปิ้ง
แนะนำให้รับประทานผลไม้ เช่น
ลูกพรุนมะละกอสุก ส้ม กล้วย
แนะนำให้จิบเครื่องดื่มอุ่นๆ เช่น น้ำขิง
การพยาบาลสตรี
ตั้งครรภ์เมื่อ
กลับไปอยู่บ้าน
แนะนำให้พักผ่อนอย่างเพียงพออย่างน้อย 8 ชั่วโมง
ในเวลากลางคืน และกลางวันอย่างน้อย 1 ชั่วโมง
แนะนำให้รับประทานอาหารที่ย่อยง่าย
หรือมีโปรตีนสูง เช่น ขนมปังปิ้ง ขนมปังกรอบ
ควรหลีกเลี่ยงอาหารที่มีไขมันมาก
รสเผ็ด หรือมีกลิ่นแรง
แนะนำให้ดื่มน้ำอุ่นทันที่ตื่นนอนประมาณครึ่งแก้ว
แล้วนอนต่ออีกประมาณ 15 นาที ก่อนที่จะลุกขึ้น
การพยาบาลสตรี
ตั้งครรภ์ที่เข้ารับการ
รักษาในโรงพยาบาล
จัดสิ่งแวดล้อมให้สะอาด เงียบสงบ
ดูแลให้งดอาหาร NPOอย่างน้อย 24-48 ชั่วโมง
บันทึกปริมาณสารน้ำเข้าออกจากร่างกาย
โดยเฉพาะ urine output ไม่ควร
น้อยกว่า 1,000 ml. ต่อวัน
ดูแลให้ได้รับสารน้ำทดแทนประมาณ 3,000 ml.
ใน 24 ชั่วโมง โดยอาจผสม glucose,
vitamins, electrolyte ต่างๆ ในสารน้ำ