Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์ (Hypertensive disorders of pregnancy) - Coggle…
ภาวะโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์
(Hypertensive disorders of pregnancy)
ความหมาย
ความดันสูงจากตั้งครรภ์ พบโปรตีนในปัสสาวะ หรืออาการบวม
ความดันสูงหลังคลอด ช่วง 2 สัปดาห์ถึง 6 เดือนหลังคลอด
ค่าความดันช่วงหัวใจบีบจัวอย่างน้อย140 mmHg
หรือความดันช่วงหัวใจคลายตัว อย่างน้อย 90 mmHg
ชนิด
จากการตั้งครรภ์
วินิจฉัยได้ครั้งแรกระหว่างการตั้งครรภ์หลังอายุครรภ์ 20 สัปดาห์ โดยไม่มีโปรตีนในปัสสาวะ
ความดันกลับสู่ปกติใน 12 สัปดาห์หลังคลอด
เรื้อรัง
ความดันสูงมาก่อนตั้งครรภ์ หรือวินิจฉัยได้ก่อนอายุครรภ์ 20 สัปดาห์
ความดันยังสูงอยู่นานกว่า 12 สัปดาห์หลังคลอด
ครรภ์เป็นพิษ
พบครั้งแรกในขณะตั้งครรภ์หลังอายุครรภ์ 20 สัปดาห์
ความดันสูงอยู่ไม่เกิน 12 สัปดาห์หลังคลอด
ครรภ์เป็นพิษทับซ้อนกับความเรื้อรัง
ก่อนระยะชัก
เกณฑ์การวินิจฉัย
เกี่ยวกับความดันโลหิตสูง
เกี่ยวกับโปรตีนในปัสสาวะ
ยกเลิกเกณฑ์วินิจฉัยภาวะครรภ์เป็นพิษระดับรุนแรง
เกล็ดเลือดต่ำ
ไต และตับทำงานผิดปกติ
น้ำท่วมปอด
ระยะชัก
ชักเกร็ง ชักแบบกระตุก
ระยะ 48-72 ชั่วโมงหลังคลอด
สาเหตุยังไม่แน่ชัด
สาเหตุและพยาธิกำเนิด
ระยะที่ 1 ระยะก่อนแสดงอาการ
มักเกิดในระยะแรกของการตั้งครรภ์
เซลล์ Cytotrophoblasts มีการปรับเปลี่ยนจากลักษณะเยื่อบุผิวไปเป็นเยื่อบุโพรงหลอดเหลือด เรียกกระบวนการนี้ว่า Psuedovasculogenesis
เริ่มในระยะท้ายของไตรมาสแรก และเสร็จเมื่ออายุครรภ์ประมาณ 18-20 สัปดาห์
ระยะที่ 2 ระยะแสดงอาการ
รกที่ขาดออกซิเจนจะมีการหลั่งสารต่างๆออกมาในกระแสเลือดที่สำคัญ คือ Proinflammatory และ Antiangiogenic factors
ความดันโลหิตสูง มีโปรตีนในปัสสาวะ เกิดในช่วงครึ่งหลังของการตั้งครรภ์
สาเหตุยังไม่แน่ชัด
พยาธิสรีรภาพ
ระบบไต
เกิด Glomerular capillary endotheliosis ทำให้ Glomerular infiltration rate ส่งผลให้ปริมาณปัสสาวะลดลง
ระบบหัวและปอด
Plasma albumin ลดลง เนื่องจาก Proteinuria และการรั่วของ Capillaries นี้ทำให้ Colloid osmotic pressure ลดลง
ระบบเลือดและการแข็งตัวของเลือด
เกล็ดเลือดต่ำเฉียบพลัน กลไกทางระบบภูมิคุ้มกัน ไปจับตัวเกาะกลุ่มตามเนื้อเยื่อบุหลอดเลือดที่ถูกทำลาย
ระบบตับ
เกิด Generalized vasoconstriction ทำให้ Hepatic oxaloacetic transaminase (SGOT) และ Alanine aminotransferase (ALT)
ระบบประสาท
เกิดการแตกของหลอดเลือดฝอย และผลจากหลอดเลือดหดเกร็ง ทำให้ Cortical brain spasm และเกิด Cerebral ischemia
ระบบการมองเห็น
หลอดเลือดดำที่จอตาหดรัดตัว ทำให้เกิด retinal edema
รกและมดลูก
หลอดเลือด Spiral anteriole ใน Decidual หดรัดตัว ร่วมกับ Acute atherosis ปริมาณเลือดที่ไหลผ่านระหว่างรกและมดลูกลดลง
ปัจจัยเสี่ยง
สตรีที่ไม่เคยตั้งครรภ์มาก่อน
มีประวัติครรภ์เป็นพิษมาก่อน
ผ่านการคลอดบุตรมาอย่างนน้อย 10 ปี
สตรีอายุมากขึ้นตั้งแต่ 35 ปีขึ้นไป
ดัชนีมวลการตั้งแต่ 30 kg/m2 ขึ้นไป
การตั้งครรภ์แฝด
ประวัติพันธุกรรมครรภ์เป็นพิษในครอบครัว
มีประวัติความเจ็บป่วยทางอายุรกรรม
ความผิดปกติทางสูติกรรม
โภชนาการบกพร่อง
อาการและอาการแสดง
ภาวะ Preeclampsia
อาการ
ภาวะไตวาย
ตับทำงานผิดปกติ
เกล็ดเลือดต่ำ
ระบบการแข็งตัวของเลือดผิดปกติ
HELLP syndrome
Hemolysis
Elevated liver enzymes
Low platelet
อาการแสดง
น้ำท่วมปอด
Eclampsia
เลือดออกในสมอง
ตาบอด
Systolic BP มากกว่าหรือเท่ากับ 160 mmHg
Diastolic BP มากกว่าหรือเท่ากับ 110 mmHg
ภาวะ Eclamsia
ระยะก่อนชัก
กระสับกระส่าย มองนิ่งอยู่กับที่ รูม่านตาขยาย
ระยะเริ่มชัก
กล้ามเนื้อใบหน้าและริมฝีปากกระตุก เบี้ยว ประมาณ 2-3 วินาที
ระยะชักเกร็ง
เกร็งกล้ามเนื้อทั้วร่างกาย ลำตัวเหยียด อาจหยุดหายใจ หน้าเขียว ประมาณ 5-10 วินาที
ระยะชักกระตุก
ขากรรไกรกระตุก น้ำลายฟูมปาก ใบหน้าม่วง ตาแต้มเลือด ประมาณ 1-2 นาที
ระยะหมดสติ
นอนนิ่งไม่เคลื่อนไหว หยุดหายใจบางครั้ง ระยะเวลาขึ้นกับแต่ละรายบุคคล
ผลกระทบ
ต่อสตรีตั้งครรภ์
รกลอกก่อนกำหนด
เลือดแข็งตัวผิดปกติ
หัวใจขาดเลือด
น้ำท่วมปอด
ไตวายเฉียบพลัน
เลือดออกในสมอง
เกล็ดเลือดต่ำ
หลอดเลือดอุดตัน
ชัก
ต่อทารก
ทารกเติบโตช้า
ขาดออกซิเจน
คลอดก่อนกำหนด
แท้งหรือเสียชีวิตในครรภ์
ทารกตายเฉียบพลันในระยะแรกเกิด
การประเมินและวินิจฉัย
ซักประวัติ
ปัจจัยเสี่ยงต่างๆ
อาการและการแสดง
ตรวจร่างกาย
ความดันโลหิต
ระดับรีเฟล็กซ์
อาการบวม
อาการบวมกดบุ๋ม
การเปลี่ยนแปลงของน้ำหนัก
ตรวจทางห้องปฎิบัติการ
ตรวจพิเศษ
Angiotensin sensitivity test
Roll over test
Isometric exercise
Doppler velocimetry
Specific blood testing
Mean arterial blood pressure
แนวทางการรักษา
Preeclampsia without severe features
ควรรับไว้รักษาในโรงพยาบาล
ซักประวัติและตรวจร่างกายอย่างละเอียด
ตรวจโปรตีนในปัสสาวะ 24 ชั่วโมง อย่างน้อย 3 วัน
ให้นอนพัก ไม่ต้องให้ยากล่อมประสาท
ประเมินความดันโลหิตทุก 4 ชั่วโมง
ตรวจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง
ให้รับประทานอาหารธรรมดา บันทึกสารน้ำเข้า-ออก ชั่งน้ำหนักทุก 2 วัน
Preeclampsia with severe features
ต้องรับรักษาไว้ในโรงพยาบาลทุกราย
ให้พักผ่อนอย่างเต็มที่บนเตียง
เริ่มให้ Magnesium sulfate ทางหลอดเลือดดำทันที
ประเมินอาการแสดง Mg toxicity เป็นระยะ
ให้ยาลดความดันเมื่อความดันสูงกว่าหรือเท่ากับ 160/110 mmHg
ประเมินความดันโลหิตทุก 15 นาที จนกว่าจะคงที่
ตรวจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง
เลี่ยงการใช้ยาขับปัสสาวะ
ตรวจ NST ทุกวัน
Eclampsia
ควบคุมอาการชัก
ป้องกันภาวะแทารกซ้อนขณะชักและหลังชัก
ติดตามและตรวจสอบอาการเปลี่ยนแปลงอย่างใกล้ชิด
ตรวจสอบภาวะ Oliguria
ไม่ควรใช้ยา Diazepam
เฝ้าระวังการตกเลือดหลังคลอด
ให้ Magnesium sulfate ต่อจนครบ 24 ชั่วโมง
ยา
Magnesium sulfate
ขยายหลอดเลือด เพิ่มการไหลเวียนเลือด
เริ่มให้ 10% MgSO4 นาน 15-20 นาทีต่อด้วย 50% MgSO4 ใน 5% D/W 1000ml. อย่างต่อเนื่อง 24-48 ชั่วโมง
ทำให้กล้ามเนื้อเรียบคลายตัว ร้อนวูบวาบ ปัสสาวะออกน้อย
Hydralazine
ทำให้หลอดเลือดคลายตัว เลือดไหลเวียนดีขึ้น
เริ่ม 5 mg. ฉีดเข้าทางหลอดเลือดดำใน 2 นาที หลังจากนั้น 20 นาทีไม่ดีขึ้นให้ซ้ำอีก 10 mg.
ทำให้ปวดศีรษะ คลื่นไส้อาเจียน ใจสั่น หัวใจเต้นผิดจังหวะ
Labetalol
ควบคุมความดันโลหิตสูงจากการตั้งครรภ์ได้ดี
เริ่มให้ 20 mg. ทางหลอดเลือดดำช้าๆ นาน 2 นาที หากไม่ดีให้ซ้ำทุก 10-15 นาที
ทำให้ความดันโลหิตต่ำ เวียนศีรษะ คัดจมูก หายใจลำบาก
Nifedipine
ลดความดันโดยการป้องกัน calcium เข้าสู่เซลล์กล้ามเนื้อหัวใจและหลอดเลือด
ให้ในรูปแบบรับประทานเท่านั้น และให้ซ้ำทุก 15-30 นาที
ปวดศีรษะ ใจสั่น คลื่นไส้ ท้องผูก
การพยาบาล
Preeclampsia without severe features
ดูแลให้นอนพักบนเตียง
ประเมินสัญญาณชีพทุก 4 ชั่วโมง
ดูแลและติดตามการตรวจทางห้องปฎิบัติการ
เฝ้าระวัง ติดตามผล อาการและอาการแสดง
ดูแลให้ได้รับอาหารธรรมดา บันทึกสารน้ำเข้า-ออก
ติดตามสุขภาพทารกในครรภ์
ประเมินและให้การประคับประคองจิตใจ
Preeclampsia with severe features
ดูแลให้พักผ่อนอย่างเต็มที่บนเตียง
ประเมินสัญญาณชีพทุก 1 ชั่วโมง
บันทึกสารน้ำเข้าออก
ประเมินอาการนำก่อนการชัก
ดูแลให้ได้รับ MgSO4 และยาลดความดันโลหิตตามแผนการรักษา
ส่งเสริมการขับสารน้ำออกจากร่างกาย
ดูแลให้ได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอ
ดูแลทารกให้ปลอดภัยจากภาวะแทรกซ้อน
ดูแลให้การตั้งครรภ์สิ้นสุดลงอย่างปลอดภัย
ประคับประคองจิตใจ
Eclampsia
ใส่ oral airway ให้นอนตะแคง ใส่ไม้กั้นเตียง
ให้ออกซิเจนขณะชัก และหลังชัก
ดูแลให้ได้รับยาระงับชักตามแผนการรักษา
ประเมินสัญญาณชีพทุก 1 ชั่วโมง
บันทึกสารน้ำเข้าออก อาการทางสมอง อาการนำของการชัก
งดให้น้ำและอาหาร จัดสิ่งแวดล้อมให้สงบ
ประเมินอัตราการเต้นขอบหัวใจทารกในครรภ์เป็นระยะ
เตรียมสตรีตั้งครรภ์เพื่อคลอดตามสถานการณ์
ป้องกันการชัก และตกเลือดหลังคลอด
ดูแลทารกแรกเกิด อาจมีภาวะขาดออกซิเจน หรือคลอดก่อนกำหนด