Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์ (Hypertensive disorders of pregnancy),…
ภาวะโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์
(Hypertensive disorders of pregnancy)
ชนิดของภาวะความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์
ความดันโลหิตสูงจากการตั้งครรภ์
(gestational hypertension)
ความดันโลหิตสูงเรื้อรัง
(chronic/ preexisting hypertension)
ครรภ์เป็นพิษหรือภาวะครรภ์เป็นพิษระยะก่อนชัก (preeclampsia)
ครรภ์เป็นพิษซ้อนทับกับความดันโลหิตสูงเรื้อรัง
(preeclampsia superimposed onchronic hypertension)
ภาวะครรภ์เป็นพิษก่อนระยะชัก (Preeclampsia)
เกณฑ์การวินิจฉัย
เกณฑ์การวินิจฉัยเกี่ยวกับความดันโลหิตสูง
โปรตีนในปัสสาวะ
เกล็ดเลือดต่ำ
การทำงานของไตผิดปกติ
การทำงานของตับผิดปกติ
อาการทางสมอง
อาการทางตา
ภาวะน้ำท่วมปอด
เกณฑ์การวินิจฉัยเกี่ยวกับโปรตีนในปัสสาวะ (proteinuria)
Trace = มีเพียงเล็กน้อย
+1 = 30 มิลลิกรัม%
+2 = 100 มิลลิกรัม%
+3 = 300 มิลลิกรัม%
+4 = มากกü่า 1000 มิลลิกรัม%
ยกเลิกเกณฑ์การวินิจฉัยภาวะครรภ์เป็นพิษระดับรุนแรง (severe preeclampsia)
เกณฑ์การประเมินความรุนแรง
ระดับความดันโลหิต
โปรตีนในปัสสาวะ
ปวดศีรษะ
อาการทางสายตา
ปวดใต้ลิ้นปี่และชายโครงขวา
ปัสสาวะออกน้อย (oliguria)
ชัก (convulsion)
การทำงานของไตผิดปกติ
เกล็ดเลือดต่ำ
การทำงานของตับผิดปกติ
น้ำท่วมปอด
ภาวะครรภ์เป็นพิษระยะชัก (eclampsia)
ภาวะชักแบบ generalized convulsions
หรือ grandmal seizures
สาเหตุ
cerebral vasospasm
ร่วมกับ
local ischemia
vasogenic edema
endothelial damage
hypertensive
encephalopathy
ร่วมกับ
hyperperfusion
สาเหตุและพยาธิกำเนิดของภาวะความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์
ระยะที่ 1 ระยะก่อนแสดงอาการ (preclinical หรือ asymptomatic stage)
เกิดความผิดปกติที่รก
เกิดตั้งแต่ระยะแรกของการตั้งครรภ์
เสร็จสิ้นเมื่ออายุครรภ์ประมาณ 18-20 สัปดาห์
ระยะที่ 2 ระยะแสดงอาการ (clinical stage)
รกที่ขาดออกซิเจนจะหลั่งสารต่างๆออกมาในกระแสเลือด
proinflammatory และ antiangiogenic factors ทำให้เซลล์บุโพรงหลอดเลือดบาดเจ็บ และขาดเลือด
อาการแสดงทางคลินิกที่สำคัญ
ความดันโลหิตสูง
ภาวะมีโปรตีนในปัสสาวะ
พยาธิสรีรภาพของภาวะความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์
ภาวะครรภ์เป็นพิษก่อให้เกิดพยาธิสภาพต่ออวัยวะดังนี้
ระบบไต (renal system)
ระบบหัวใจและปอด (cardiopulmonary system)
ระบบเลือดและการแข็งตัวของเลือด (hematologic and coagulation system)
ระบบตับ (hepatic system)
ระบบประสาท (neurological system)
ระบบการมองเห็น (visual system)
รก และมดลูก (placenta and uterus)
สาเหตุและปัจจัยเสี่ยง
สตรีที่ไม่เคยคลอดบุตรมาก่อน (nulliparity)
ประวัติครรภ์เป็นพิษในครรภ์ก่อน มีความเสี่ยงเพิ่มขึ้น 7 เท่า
ผ่านการคลอดบุตรคนก่อนมาอย่างน้อย 10 ปี มีความเสี่ยงเพิ่มขึ้น
สตรีอายุมากขึ้นตั้งแต่ 35 ปีขึ้นไป
ดัชนีมวลกายตั้งแต่ 30 kg/m2 ขึ้นไป หรืออ้วน
การตั้งครรภ์แฝด
ประวัติพันธุกรรมครรภ์เป็นพิษในครอบครัวของสตรีตั้งครรภ
ประวัติมีความเจ็บป่วยทางอายุรกรรมที่เกี่ยวข้อง
ความผิดปกติทางสูติกรรม
ภาวะโภชนาการบกพร่อง
อาการและอาการแสดง
ภาวะ preeclampsia
อาการสำคัญ
ปวดศรีษะส่วนหน้า
การมองเห็นผิดปกติ
ปวดใต้ชายโครงขวา
จุกลิ้นปี่
อาการแสดง
Systolic BP ≥ 160 mmHg. หรือ Diastolic BP ≥ 110 mmHg
น้ำท่วมปอด
Eclampsia คือ มีอาการชักแบบชักทั้งตัว
เลือดออกในสมอง
ตาบอดจากพยาธิสภาพของครรภ์เป็นพิษในสมอง
ภาวะ Eclampsia
ระยะก่อนชัก (Premonitoring stage)
กระสับกระส่าย
ตามองนิ่งอยู่กับที่
ศีรษะหมุนไปด้านหนึ่งจนตึง
รูม่านตาขยาย
ระยะเริ่มแรกของอาการชัก (Stage of invasion)
กล้ามเนื้อบริเวณใบหน้าและมุมปากกระตุก
ริมฝีปากเบี้ยว
ระยะชักเกร็ง (Stage of contraction หรือ tonic stage)
มีอาการเกร็งกล้ามเนื้อทั้วร่างกาย
ลำตัวเหยียด
ศรีษะหงายไปด้านหลัง
มือกำแน่น
แขนงด
ขาบิดเข้าด้านใน
ตาถลน
ระยะชักกระตุก (Stage of convulsion หรือ clonic stage)
การกระตุกของกล้ามเนื้อทั่วร่างกายอย่างแรง
มีการกระตุกของขากรรไกร
มีน้ำลายฟูมปาก
ใบหน้าบวมสีม่วง
ตาแต้มเลือด
หนังตาจะปิดและเปิดสลับกันอย่างรวดเร็ว
ระยะหมดสติ (coma หรือ unconscious)
นอนนิ่งไม่เคลื่อนไหวอยู่ในสภาพหมดแรง
อาจมีอาการหยุดหายใจเป็นบางครั้ง
อาจมีอาการหมดสติ
ผลกระทบต่อภาวะสุขภาพของสตรีตั้งครรภ์และทารก
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์
รกลอกตัวก่อนกำหนด
เลือดแข็งตัวผิดปกติ(DIC)
หัวใจขาดเลือด
หัวใจล้มเหลว
ไตวายเฉียบพลัน
น้ำท่วมปอด หรือปอดบวมน้ำ
เลือดออกในสมอง
เลือดออกในตับจนมีการตายของเซลล์ตับ หรือ ตับวาย
เกล็ดเลือกต่ำ
การหลุดของเรตินา
หลอดเลือกอุดตัน
อันตรายจากการชัก
ผลกระทบต่อทารก
ทารกโตช้าในครรภ์
ขาดออกซิเจน เลือดเป็นกรด
ทารกคลอดก่อนกำหนด
แท้งหรือเสียชีวิตในครรภ์
ทารกตายในครรภ์เฉียบพลันหรือตายในระยะแรกเกิด
การประเมินและวินิจฉัย
การซักประวัติ
ซักประวัติเพื่อค้นหาปัจจัยเสี่ยงต่างๆ
ประวัติอาการและอาการแสดงของภาวะ preeclampsia
การตรวจร่างกาย
การประเมินความดันโลหิต
การประเมินระดับรีเฟล็กซ์
การประเมินอาการบวม
ประเมินอาการบวมกดบุ๋ม
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
CBC
platelet count
liver function test
renal functiontest
cogulation profile
การตรวจพิเศษ
Angiotensin sensitivity test
Roll over test
Isometric exercise
Doppler velocimetry
Specific blood testing
Mean arterial blood pressure (MAP)
แนวทางการรักษา
การรักษา preeclampsia without severe features
การนอนพัก
เฝ้าระวังการเกิด sever features
ทำให้การตั้งครรภ์ดำเนินต่อไปจนครบกำหนดคลอด
การรักษา preeclampsia with severe features
การป้องกันการชัก
ควบคุมความดันโลหิต
ยุติการตั้งครรภ์
การรักษา eclampsia
ควบคุมการชัก
แก้ไขภาวะพร่องออกซิเจนและความเป็นกรดใน
ร่างกาย
ควบคุมความดันโลหิต
ยุติการตั้งครรภ์เมื่อควบคุมอาการชัก
ยาที่ใช้ในการรักษาภาวะความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์
ยาป้องกันการชัก (anticonvulsant)
Magnesium Sulfate (MgSO4)
ยาลดความดันโลหิต (antihypertensive dtrugs)
Hydralazine (Apresoline® หรือ Nepresol®)
Labetalol (Avexor®)
Nifedipine (Adalat®)
การพยาบาลสตรีที่มีภาวะความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์
การพยาบาลสตรีที่มีภาวะ preeclampsia without severe features
ดูแลให้นอนพักบนเตียง (bed rest) ในท่านอนตะแคงซ้าย
ประเมินสัญญาณชีพ โดยเฉพาะความดันโลหิตทุก 4 ชั่วโมง
ดูแลและติดตามประเมินผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการและการตรวจพิเศษ
เฝ้าระวัง ติดตาม อาการและอาการแสดงของ preeclampsia
ดูแลให้รับประทานอาหารธรรมดา
ดูแลติดตามการประเมินสุขภาพทารกในครรภ์
ประเมินและให้การประคับประคองสภาวะทางอารมณ์ และจิตใจอย่างเหมาะสม
การพยาบาลสตรีตั้งครรภ์ที่มีภาวะ preeclampsia with severe features
ดูแลให้นอนพักบนเตียงอย่างเต็มที่
ประเมินสัญญาณชีพ โดยเฉพาะความดันโลหิตทุก 1 ชั่วโมง
บันทึกปริมาณสารน้ำเข้าและออกในแต่ละวัน
ประเมินอาการนำก่อนการชัก
ดูแลให้ยาป้องกันชัก MgSO4 ตามแผนการรักษา
ดูแลให้ยาลดความดันโลหิตตามแผนการรักษา
ติดตามประเมินระดับ oxygen saturation
ดูแลให้ทารกปลอดภัยจากภาวะแทรกซ้อน
ดูแลให้การตั้งครรภ์สิ้นสุดลงอย่างปลอดภัย
ประคับประคองด้านจิตใจ
การพยาบาลสตรีตั้งครรภ์ที่มีภาวะ eclampsia
ใส่ oral airway หรือ mouth gag เพื่อป้องกันไม่ให้กัดลิ้นและความสะดวกในการดูดเสมหะและน้ำลาย
จัดให้นอนตะแคง ใส่ไม้กั้นเตียง โดยใช้หมอนรองรับรอบด้าน
ให้ออกซิเจนขณะชัก และภายหลังชัก
ดูแลให้ได้รับยาระงับชักตามแผนการรักษา
ประเมินสัญญาณชีพเป็นระยะอย่างต่อเนื่องอย่างน้อยทุก 1ชั่วโมง
บันทึกปริมาณสารน้ำเข้าและออกจากร่างกาย
สังเกตและบันทึกอาการทางสมอง
สังเกตและบันทึกอาการนำของการชัก ระยะเวลาของการชัก ระยะเวลาที่หยุดหายใจ ระดับความรู้สึกตัวและพฤติกรรมของสตรีตั้งครรภ์หลังอาการชัก
รายงานแพทย์เมื่อมีอาการนำของการชักหรือขณะชัก
ให้งดอาหารและน้ำตามแผนการรักษา
จัดสิ่งแวดล้อมให้สงบ และลดสิ่งกระตุ้นให้เกิดการชัก
ประเมินอัตราการเต้นของหัวใจทารกในครรภ์เป็นระยะ การหดรัดตัวของมดลูก
เตรียมสตรีตั้งครรภ์เพื่อคลอดตามสถานการณ์
ดูแลป้องกันการชักซ้ำภายหลังคลอด
ให้การดูแลป้องกันการตกเลือดหลังคลอด
ดูแลทารกแรกเกิดซึ่งอาจมีภาวะขาดออกซิเจนคลอดก่อนกำหนด หรือน้ำหนักแรกเกิดน้อย