Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะอาเจียนรุนแรงในขณะตั้งครรภ์ Hyperremesis gravidarum :star: :, pngtree…
ภาวะอาเจียนรุนแรงในขณะตั้งครรภ์ Hyperremesis gravidarum :star: :
สตรีตั้งครรภ์มีอาการคลื่นไส้อย่างรุนแรงและต่อเนื่องเป็นเวลานานส่งผลให้ไม่สามารถรับประทานอาหารได้ตามปกติ
ขาดความสมดุลของสารน้ำและสารอาหารในร่างกาย
สาเหตุ :no_entry:
ปัจจัยด้านมารดา
1.1การตั้งครรภ์ที่มีระดับฮอร์โมนเอสโตรเจน (estrogen) สูง
1.2 มีประวัติการแพ้ท้องอย่างรุนแรงในครรภ์ก่อน
1.3บริโภคอาหารไม่เหมาะสมตั้งแต่ก่อนตั้งครรภ์
1.4 มีความผิดปกติของระบบทางเดินอาหาร
1.5 กระเพาะอาหารมีการเคลื่อนไหวลดลง
1.6 สภาพจิตใจความเครียดความวิตกกังวลที่อาจมีสาเหตุต่าง ๆ
ปัจจัยด้านทารก
ทารกมีความผิดปกติเกี่ยวกับโครโมโซม
triploidy
trisomy 21
ทารกบวมน้ำ (hydrops fetalis)
อาการและอาการแสดง :pencil2:
มีอาการคลื่นไส้อาเจียนอย่างรุนแรงเป็นระยะเวลานานน้ำหนักจะลดลงเล็กน้อย ไม่มีอาการขาดน้ำ
อาการอาเจียน 5-10 ครั้ง
ขาดสารอาหารและน้ำหนักลดลงมาก
มีอาการแสดงของภาวะขาดสารน้ำ (dehydration)
EX อ่อนเพลียทำกิจวัตรประจำวันไม่ได้ริมฝีปากแห้งตาโหลลีกผิวหนังแห้งขาดความชุ่มชื้น
เกิดภาวะ acidosis และ alkalosisความไม่สมดุลของร่างกาย
EX ปากคอแห้งกระหายน้ำกล้ามเนื้อกระตุก
ลมหายใจมีกลิ่นอะซิโตน
เกิดกลุ่มอาการ Wenicke's encephalopathy จากการขาดวิตามินบี 1
มีอาการแสดงทางด้านจิตใจ
ความเครียด
ความวิตกกังวล
ภาวะซึมเศร้า
ผลกระทบต่อการตั้งครรภ์ :tada:
ผลกระทบต่อทารกในครรภ์
1.หากสตรีตั้งครรภ์มีน้ำหนักลดลงมากทำให้ทารกในครรภ์เติบโตช้า
หากสตรีตั้งครรภ์เกิดภาวะเป็นกรดในร่างกายอาจทำให้ทารกมีอาการทางสมองเกิดภาวะ Wernicke's encephalopathy
อาจทำให้แท้งคลอดก่อนและทารกพิการ (Fetal anomalies) จากการขาดสารอาหาร
ผลกระทบต่อมารดา
ทำให้ร่างกายเกิดการขาดน้ำทำให้อุณหภูมิสูงขึ้นความดันโลหิตต่ำลง
ไตปัสสาวะออกน้อยมีไข้ผิวหนังแห้งมีอาการอ่อนเพลีย
เกิดภาวะความเป็นกรดในร่างกาย
มีอาการกระสับกระส่ายไม่รู้สึกตัวหมดสติ
มีอาการรุนแรงมากร่างกายเสียสมดุลของอิเลคโตไลท์
เกิดภาวะ hypokalemia, alkalosis กล้ามเนื้ออ่อนแรง
ตับมีค่า SGOT เพิ่มขึ้นมีอาการของการขาดวิตามิน
ชาปลายมือปลายเท้า
การวินิจฉัย :checkered_flag:
การซักประวัติตรวจร่างกายประเมินอาการ
การอาเจียนรุนแรงการขาดสารน้ำ ขาดสารอาหาร น้ำหนักตัว และสภาพจิตใจ
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจเลือด
พบฮีมาโตคริตสูง
BUN สูงโซเดียมต่ำ
โปแตสเซียมคลอไรด์ต่ำ
SGOT สูง
LT สูง
และโปรตีนในเลือดต่ำ
การตรวจปัสสาวะ
พบว่ามีความถ่วงจำเพาะสูงไข่ขาวในปัสสาวะเพิ่มขึ้น
ตรวจพิเศษ
การตรวจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูงและการเจาะตรวจน้ำคร่ำ
แนวทางการรักษา :fire:
วินิจฉัยแยกโรคภาวะอาเจียนอย่างรุนแรงจากอาการของโรคอื่น ๆ
หากอาการไม่รุนแรงสแนะนำให้รับประทานอาหารที่ช่วยทดแทนเกลือแร่ที่สูญเสียไป
หากอาการรุนแรงมากควรงดอาหารและน้ำทางปากแก้ไขภาวะขาดน้ำความไม่สมดุลของเกลือแร่
4.การรักษาด้วยยา
ยาแก้คลื่นไส้อาเจียน
วิตามิน
ยาคลายกังวลและยานอนหลับ
5.เมื่ออาการแพ้ท้องรุนแรงดีขึ้น
ให้รับประทานอาหารอ่อนครั้งละน้อย
รับประทานอาหารที่มีส่วนประกอบของขิงสามารถช่วยลดอาการคลื่นไส้
6.หลีกเลี่ยงสิ่งแวดล้อมและสิ่งกระตุ้นที่ทำให้คลื่นไส้
กรณีที่รักษาด้วยวิธีต่างๆแล้วอาการไม่ดีขึ้นจะต้องทำการวินิจฉัยเพื่อค้นหาสาเหตุของโรคที่แท้จริง
การพยาบาล :<3:
การพยาบาลสตรีตั้งครรภ์เมื่อกลับไปอยู่บ้าน :green_cross: :<3:
1แนะนำการรับประทานอาหารครั้งละน้อย แต่บ่อยครั้งเป็นอาหารที่ย่อยง่ายหรือมีโปรตีนสูง
2แนะนำให้ดื่มน้ำอุ่นทันที่ตื่นนอนป้องกันภาวะสูญเสียน้ำ
3แนะนำให้พักผ่อนอย่างเพียงพออย่างน้อย 8 ชั่วโมง
4แนะนำการออกกำลังกายหรือกายบริหารเบา ๆ
5แนะนำให้หลีกเลี่ยงสิ่งกระตุ้นให้เกิดความเครียด
6อธิบายให้คู่สมรสและครอบครัวเข้าใจถึงภาวะที่เกิดขึ้นและควรให้การช่วยเหลือสตรีตั้งครรภ์อย่างใกล้ชิด
7แนะนำให้เห็นความสำคัญของการมาตรวจตามนัดอย่างสม่ำเสมอ
การพยาบาลสตรีตั้งครรภ์ที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล :green_cross: :<3:
1ดูแลให้งดอาหารและน้ำทางปาก (Nothing Per Oral: NPO) อย่างน้อย 24-48 ชั่วโมง
2หลีกเลี่ยงสิ่งที่จะกระตุ้นให้เกิดอาการคลื่นไส้อาเจียน
3ดูแลความสะอาดของช่องปากและฟันขณะที่ NPO
4ดูแลให้ได้รับสารน้ำทดแทนประมาณ 3,000 ml. ใน 24 ชั่วโมง
5ดูแลให้ยาลดอาการคลื่นไส้อาเจียน
6บันทึกปริมาณสารน้ำเข้าออกจากร่างกาย
7จัดสิ่งแวดล้อมให้สะอาดเงียบสงบ
8อาการดีขึ้นให้เริ่มรับประทานอาหารมื้อละน้อย แต่บ่อยครั้ง
9อาการรุนแรงมากจำเป็นต้องให้อาหารทางสายยาง
10ติดตามชั่งน้ำหนักเพื่อประเมินว่าได้รับสารน้ำและสารอาหารเพียงพอ
11ติดตามผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
12แนะนำให้คู่สมรสมีส่วนร่วมช่วยเหลือสตรีตั้งครรภ์อย่างใกล้ชิด
13อยู่เป็นเพื่อนให้กำลังใจเปิดโอกาสให้ซักถามข้อสงสัยรับฟังด้วยความสนใจ
14ให้คำปรึกษาเพื่อแก้ไขปัญหาด้านจิตใจที่อาจส่งผลให้เกิดอาการแพ้ท้องอย่าง
การพยาบาลสตรีตั้งครรภ์ที่ได้รับการรักษาแบบผู้ป่วยนอก :green_cross: :<3:
1 อธิบายให้สตรีตั้งครรภ์เข้าใจถึงสาเหตุารเกิดภาวะอาเจียนรุนแรงและภาวะแทรกซ้อน
2แนะนำวิธีการป้องกันอาการคลื่นไส้อาเจียน
3แนะนำให้จิบเครื่องดื่มอื่น ๆ
EX น้ำขิงเป็นต้นเพื่อได้รับน้ำและเกลือแร่เพียงพอ
4รับประทานอาหารแข็งที่ย่อยง่าย
5เเนะนำอาหารประเภทคาร์โบไฮเดรตเชิงเดียว
EX น้ำหวานนมน้ำผลไม้
6เเนะนำให้รับประทานผลไม้
EX ลูกพรุน มะละกอสุก ส้ม กล้วย
7แนะนำวิธีการรับประทานยาแก้อาเจียน
รับประทานก่อนอาหารประมาณ 30 นาที
8สอนวิธีการประเมินโภชนาการ
9ให้คำปรึกษาในการปรับแบบแผนการรับประทานอาหาร
10เปิดโอกาสให้สตรีตั้งครรภ์ได้พูดถึงปัญหาให้การปรึกษาเพื่อการแก้ไข
11แนะนำให้มาพบแพทย์เมื่อมีอาการคลื่นไส้อาเจียนมากขึ้น