Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
4.4) ทารกในครรภ์อยู่ในภาวะคับขัน (Fetal distress) - Coggle Diagram
4.4) ทารกในครรภ์อยู่ในภาวะคับขัน
(Fetal distress)
{1}สาเหตุและปัจจัยส่งเสริม
1.1)การไหลเวียนเลือดไปสู่รกไม่เพียงพอ
(Utero-placenta Insufficiency: UPI
[1]มดลูกมีการหดรัดตัวมากกว่าปกติ (uterine hyperactivity)
เช่น ภาวะรกลอกตัวก่อนกําหนด หรือการถูกกระตุ้นจากยา oxytocin
[2]มารดามีความดันโลหิตต่ำ (maternal hypotension) จากสาเหตุเช่น
การตกเลือด, sympathetic paralysis ที่เกิดจากการได้รับยาระงับความรู้สึก
[3]การทําหน้าที่ของรกไม่เป็นไปตามปกติ (placental dysfunction) จากสาเหตุ เช่น สตรีตั้งครรภ์ที่เป็นโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง มารดาสูบบุหรี่ หรือ การตั้งครรภ์เกินกําหนด
1.2)ภาวะที่สายสะดือถูกกด (umbilical cord compression)
-ภาวะตั้งครรภ์ที่มีภาวะน้ําคร่ำน้อย
-ภาวะสายสะดือพลัดต่ำ
-ภาวะ fetal distress
{2}อาการและอาการแสดง
1.อัตราการเต้นของหัวใจทารกผิดปกติ (abnormal FHR pattern)
2.มีขี้เทาปนในน้ําคร่ำ (meconium stained of amniotic fluid)
1.Thin หรือ mild meconium stained คือขี้เทาปนในน้ําคร่ำเล็กน้อย น้ําคร่ำมีสีเหลือง
2.Moderate meconium stained คือ ขี้เทาปนในน้ําคร่ำปานกลาง น้ําคร่ำมีสีเขียวปนเหลือง
3.Thick meconium stained คือ ขี้เทาปนในน้ําคร่ำมาก น้ําคร่ำมีสีเขียวคล้ำและข้น
3.ทารกดิ้นน้อยลง
4.ทารกมีภาวะเลือดเป็นกรด
{3}การประเมินและการวินิจฉัย
1.การซักประวัติ
การดิ้นของทารกในครรภ์
การแตกของถุงน้ำคร่ำ ลักษณะ สี และปริมาณของน้ำคร่ำ
2.การตรวจร่างกาย และการตรวจครรภ์
2.1)พบเสียงหัวใจของทารกในครรภ์ผิดปกติ เช่น อัตราการเต้นของหัวใจทารกช้าหรือเร็วกว่าปกติ
2.2)ในระยะคลอดจากการติดตั้งเครื่อง electronic fetal monitoring (EFM) พบภาวะ late deceleration patterns
2.3)จังหวะการเต้นไม่สม่ำเสมอ
2.4)ถ้าไม่ได้ยินเสียงหัวใจของทารก หากทารกได้รับการช่วยเหลือไม่ทัน จะทำให้ทารกเสียชีวิต
2.5)ตรวจพบขี้เทา (meconium) ในน้ําคร่ำปริมาณเข้มข้น ซึ่งเกิดจากทารกในครรภ์ขาดออกซิเจน
3.การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
3.1)Fetal scalp blood sampling โดยการเจาะจากหนังศีรษะมาตรวจ
3.2)การประเมินสุขภาพของทารกในครรภ์ด้วยวิธี non- stress test (NST) โดยการประเมินอัตราการเต้นของหัวใจ ทารกด้วยเครื่อง electronic fetal monitoring (EFM)
{4}การรักษา
1.จัดท่านอนมารดา โดยให้นอนตะแคงซ้ายเพื่อลดการกดเส้นเลือด aorta
และ inferior vena cavaจากมดลูก
2.ให้ออกซิเจน 4 L/min ทาง nasal canular หรือ 8-10 L/min ทาง face mask
3.หยุดให้ยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก เพื่อลดการทํางานของมดลูกและช่วยเพิ่มการ ไหลเวียนเลือด
4.ให้สารละลายทางหลอดเลือดดําเพื่อเพิ่มอัตราการไหลเวียนของเลือด
5.การเติมน้ําในโพรงมดลูก (amnioinfusion) เพื่อลดการกดจากมดลูกต่อทารก
ขณะมดลูกมีการ หดรัดตัว
6.แก้ไขภาวะความดันโลหิตต่ำของมารดา ได้แก่ นอนยกขาสูง
ให้สารละลายทางหลอดเลือดดํา และให้ยาเพิ่มความดันโลหิต
7.พิจารณาช่วยคลอดทางสูติศาสตร์หัตการ เช่น คีม หรือเครื่องดูดสุญญากาศ
ในราย ที่ FHR pattern กลับสู่ปกติ
{5}การพยาบาล
[1]การเฝ้าระวังและป้องกันทารกในครรภ์ระยะตั้งครรภ์
1.ประเมินและวินิจฉัยความเสี่ยงของการเกิดภาวะ fetal distress
2.การแนะนําการนับลูกดิ้น
3.ให้สตรีตั้งครรภ์สังเกตอาการผิดปกติที่ควรมาพบแพทย์ทันที เช่น มีการแตกของ ถุงน้ําคร่ำ ลักษณะน้ําคร่ำ ตกเลือด เป็นต้น
4.แนะนําให้มาฝากครรภ์อย่างสม่ำเสมอเพื่อติดตามและประเมินทารกในครรภ์
2.ระยะคลอด
1.ดูแลให้สตรีตั้งครรภ์ได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอ และจัดท่านอน upright position
2.ดูแลให้ได้รับสารน้ําทางหลอดเลือดดําตามแผนการรักษา
3.ประเมินและบันทึกการหดรัดตัวของมดลูกและเสียงหัวใจทารกตามระยะของการคลอด และประเมินอย่างใกล้ชิดในรายที่มีภาวะเสี่ยง
4.ดูแลให้ได้รับยากระตุ้นการหดรัดตัวตามแผนการรักษา
5.ในรายที่มีถุงน้ําคร่ำแตก ควรประเมินลักษณะของน้ําคร่ำตรวจภายในและประเมินการเต้นของหัวใจทารกทันที
6.ดูแลให้การดําเนินการคลอดเป็นไปตามปกติ และป้องกันการคลอดล่าช้า
[4]การติดตั้งเครื่อง EFM เมื่อพบภาวะ fetal distress
1) Late decelerations (uteroplacental insifficiency)
เพิ่มการไหลเวียนของเลือดไปยังรก
1.1) จัดท่าให้สตรีตั้งครรภ์นอนตะแคงซ้าย
1.2) ดูแลให้ได้รับออกซิเจน by face-mask at 8-10 L/m
1.4) หยุดให้ oxytocin
1.5) รายงานสูติแพทย์ทันที
1.3) ดูแลให้ได้รับสารน้ําทางหลอดเลือดดํา
2) Severe variable decelerations (cordcompression)
โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อลดการกดทับของสายสะดือ
2.1)ให้สตรีตั้งครรภ์เปลี่ยนท่า หรือจัดให้นอนท่าตรงกันข้ามกับท่านอน
2.2)ดูแลให้ได้รับออกซิเจน by face-mask at 8-10 L/m
2.3)พยาบาลผดุงครรภ์ควรตรวจทางช่องคลอดเพื่อ
ประเมินการกดทับสายสะดือของส่วนนํา
2.4) หยุดให้ oxytocin
2.5 รายงานสูติแพทย์ทราบทันที
[3]การประเมินและพบว่าทารกในครรภ์อยู่ในภาวะขับขัน ควรปฏิบัติดังนี้
1)จัดให้มารดานอนตะแคงซ้ายเพื่อลดการกดทับ inferior vena cava ช่วยเพิ่ม cardiac output
2)ดูแลให้ออกซิเจน 4-6 L/min ทาง nasal cannula และสารละลายทางหลอดเลือดดํา เมื่อพบว่าเสียงหัวใจทารกผิดปกติหรือพบขี้เทาในน้ําคร่ำ
4)ประเมินและบันทึกเสียงหัวใจทารกอย่างต่อเนื่องด้วย EFM
5)เตรียมผู้คลอดสําหรับทํา amnioinfusion และช่วยเหลือแพทย์ในการทําหัตถการ ผ่าตัดคลอด
3)หยุดให้ยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก
6)เตรียมผู้คลอดสําหรับช่วยคลอดด้วยสูติศาสตร์หัตถการ หรือการ
7)เตรียมอุปกรณ์ช่วยฟื้นคืนชีพสําหรับทารก และ meconium aspirator ให้พร้อมฟัง และบันทึกการเต้นหัวใจทารก