Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยวิกฤตในระบบหัวใจและการไหลเวียนโลหิต - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้ป่วยวิกฤตในระบบหัวใจและการไหลเวียนโลหิต
ภาวะความดันโลหิตสูงวิกฤต Hypertensive crisis
การตรวจร่างกาย
น้ำหนัก ส่วนสูง
ถ้าพบ Papilledema ช่วยประเมินภาวะ increased intracranial pressure ตรวจ retina
วัดสัญญาณชีพ
ความดันโลหิต เปรียบเทียบจากแขนซ้ายและขวา
ถ้าพบ cotton-wool spots and hemorrhages แสดงว่า มีการแตกของ retina blood vessels และ retina nerves ถูกทําลาย
Chest pain
การตรวจทางห้องปฏิบัติการและการตรวจพิเศษ
ตรวจการทํางานของไตจากค่า Creatinine และ Glomerular filtration rate (eGFR) และค่าอัลบูมินในปัสสาวะ
ตรวจ CBC
ประเมินภาวะ microangiopathic hemolytic anemia (MAHA)
ซักประวัติ
สอบถามอาการของอวัยวะที่ถูกผลกระทบจากโรคความดันโลหิตสูง
โรคประจำตัว
การับประทานยา
การสูบบุหรี่
ความดันโลหิตสูง
ประวัติครอบครัว
การรักษา
ให้การรักษาทันทีใน ICUและให้ยาลดความดันโลหิตชนิดฉีดเข้าหลอดเลือดดํา
ยาลดความดันโลหิตที่พึงประสงค์ควรออกฤทธิ์เร็วและหมดฤทธิ์เร็วเมื่อหยุดยา
อาการและอาการแสดง
ขึ้นอยู่กับ vascular injury และ end organ damage
ทำให้เกิดอาการทางสมอง เรียกว่า hypertensive encephaalopathy
คลื่นไส้
อาเจียน
ปวดศีรษะ
มองเห็นผิดปกติ
การพยาบาล
ในระหว่างได้รับยา ประเมินและบันทึกการตอบสนองต่อยาโดยติดตามความดันโลหิตอย่างใกล้ชิด
การรักษาด้วย short-acting intravenous antihypertensive agents
1.ในระยะเฉียบพลัน เฝ้าติดตามอย่างใกล้ชิดเกี่ยวกับอาการและอาการแสดงของระบบต่างๆ
ช่วยเหลือผู้ป่วยในการทํากิจกรรม
ให้ความรู้ข้อมูลแก่ผู้ป่วยเกี่ยวกับวัตถุประสงค์ของการรัก
สาเหตุ
Acute or chronic renal disease
Exacerbation of chronic hypertension
การหยุดยาลดความดันโลหิตทันที
ใช้ยาบางชนิด
ยาต้านการอักเสบที่ไม่ใช่สเตียรอยด์
ยาคุมกำเนิด
ภาวะช็อก Shock
ประเภทของช็อก
ภาวะช็อกจากภาวะหัวใจล้มเหลว(Cardiogenic shock)
เป็นภาวะช็อกที่เกิดจากหัวใจไม่สามารถส่งจ่ายเลือดไปยังส่วนต่างๆของร่างกาย โดยที่มีปริมาตรเลือดในระบบไหลเวียนโลหิตอย่างเพียงพอ
ภาวะช็อกจากหลอดเลือดมีการขยายตัว
(Distributive shock, vasogenic / vasodilatory shock, Inflammatory shock)
ภาวะช็อกจากการแพ้(Anaphylactic shock)
ทําให้เกิด hypersensitivity type I ซึ่ง IgE จะไปกระตุ้น mast cell และ basophilแตกตัว (degranulation)มีการปล่อยmediator หลายชนิด
ทำให้เกิดการขยายตัวของหลอดเลือด เป็นผลให้เลือดไปเลี้ยงบริเวณนั้นมากขึ้น
เกิดจากปฏิกิริยาของผู้ป่วยที่ได้รับ antigen กับantibody ของร่างกาย (antigen-antibody reaction)
ภาวะช็อกจากการทํางานผิดปกติของต่อมหมวกไต
(Hypoadrenal /adrenocortical shock)
พบในผู้ป่วย adrenal insufficiency ซึ่งในภาวะปกติเมื่อร่างกายเผชิญกับความเครียด จะมีการกระตุ้น adrenal gland ให้หลั่งสาร cortisolเพิ่มขึ้น
เป็นภาวะช็อกที่ร่างกายไม่สามารถผลิต cortisol ในปริมาณมากพอกับความต้องการในการประคับประคองความดันโลหิตในขณะที่ร่างกายเกิดความเครียด
ภาวะช็อกจากการติดเชื้อ(Septic shock)
ความต้านทานของหลอดเลือดลดลง เกิดการคั่งของเลือดในระบบหลอดเลือดฝอย
ผลให้ปริมาตรเลือดที่ไหลกลับสู่หัวใจ ลดลง หรือเรียกว่า " ระยะอุ่น" (Warm shock, warm stage)
เชื้อโรคจะมีการหลั่งชีวพิษในตัว (endotoxin)ร่างกายจึงมีการตอบสนองโดยการหลั่งสาร cytokines
ภาวะช็อกจากการขาดสารน้ํา (Hypovolemic shock)
ทําให้ปริมาณเลือดที่กลับเข้าสู่หัวใจ(Venous return หรือ preload)ลดลง
เกิดจากการลดลงของปริมาณของเลือดหรือสารน้ําในร่างกาย (การสูญเสียมากกว่า 30-40% ของปริมาตรเลือด)
ภาวะช็อกจากการอุดกั้นการไหลเวียนของเลือดเข้าสู่หัวใจ
(Obstructive shock)
ส่งผลให้ปริมาณเลือดที่ออกจากหัวใจลดลง
เกิดจากการอุดกั้นการไหลเวียนของโลหิตไปสู่หัวใจห้องซ้ายจากสาเหตุภายนอกหัวใจ
ภาวะช็อกจากความผิดปกติของระบบประสาท(Neurogenic shock)
เป็นความผิดปกติทางพลศาสตร์การไหลเวียนโลหิต จากความบกพร่องในการควบคุมของระบบประสาทอัตโนมัติ ที่ควบคุมการขยายตัวและการหดตัวของหลอดเลือด
เป็นผลให้มีการขยายตัวของหลอดเลือดดําและหลอดเลือดแดงขึ้นทันใด ส่งผลให้เลือดมีการกระจายตัวไปยังหลอดเลือดส่วนปลายมากขึ้นหัวใจมีการเต้นช้า
อาการและอาการแสดง
หัวใจและหลอดเลือด
หัวใจเต้นผิดจังหวะ
กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด
ชีพจรเบาเร็ว
หายใจ
ระดับออกซิเจนในเลือดต่ํา
ระบบหายใจล้มเหลว
หายใจเร็วลึก
ประสาทส่วนกลาง
กระสับกระส่าย
หมดสติ
ซึม
ไตและการขับปัสสาวะ
ปัสสาวะออกน้อย
ทางเดินอาหาร
ตับอ่อนอักเสบ
การย่อยและดูดซึมอาหารผิดปกติ
กระเพาะอาหารและลําไส้ขาดเลือด
เลือดและภูมิคุ้มกัน
การแข็งตัวของเลือดผิดปกติ
ภาวะลิ่มเลือดกระจายทั่วร่างกาย
ต่อมไร้ท่อ
ภาวะร่างกายเป็นกรด
น้ําตาลในเลือดสูงหรือต่ํา
ระยะของช็อก
ภาวะช็อกที่สามารถชดเชยได้ในระยะท้าย (Decompensated shock)
ภาวะช็อกที่ได้รับการวินิจฉัยล่าช้า เซลล์ในร่างกายเริ่มตาย การทํางานของอวัยวะต่างๆลดลง
การรักษาจะใช้เวลามากขึ้นและมีภาวะแทรกซ้อนจากอวัยวะล้มเหลว
ภาวะช็อกที่ไม่สามารถชดเชยได้
(Irreversible shock)
ภาวะช็อกที่ได้รับการวินิจฉัยช้าเกินไป จนทําให้เซลล์หรืออวัยวะต่างๆในร่างกายได้รับความเสียหายเป็นอย่างมา
การรักษาในระยะนี้มักจะไม่ได้ผล ผู้ป่วยมีโอกาสเสียชีวิตสูง
ภาวะช็อกที่สามารถชดเชยได้ในระยะแรก (Compensated shock)
ภาวะช็อกที่ได้รับการวินิจฉัยตั้งแต่เริ่มต้น ได้รับการรักษาทั้งการให้สารน้ําและยาที่เหมาะสม
ผลการรักษาจะดีและมีภาวะแทรกซ้อนเพียงเล็กน้อย
การรักษา
การรักษาที่เฉพาะเจาะจงตามสาเหตุของภาวะช็อก เช่น การให้ยาปฏิชีวนะ
การแก้ไขความผิดปกติของภาวะกรดด่าง
การแก้ไขภาวะพร่องออกซิเจนของเนื้อเยื่อและการลดการใช้ออกซิเจน
การแก้ไขระบบไหลเวียนโลหิตให้ได้ปริมาณเลือดที่ออกจากหัวใจต่อนาทีเพียงพอ
พยาธิสรีรวิทยาและพยาธิสภาพ
มีผลต่อการบีบตัวของหัวใจ และการทํางานของระบบซิมพาเธติก ทําให้ประสิทธิภาพของการบีบตัวของหัวใจลดลง อัตราการเต้นของหัวใจช้าหรือเร็วเกินไป จังหวะการเต้นของหัวใจไม่สม่ําเสมอ
ปริมาณของเลือดที่ออกจากหัวใจต่อนาที(Cardiac output)ลดลงได้ ซึ่งการขนส่งออกซิเจนไปยังเนื้อเยื่อ จําเป็นต้องอาศัยปริมาณเลือดที่ออกจากหัวใจ
เมื่อเกิดความผิดปกติของปัจจัยด้านสรีรวิทยา
ปริมาณออกซิเจนที่ขนส่งไปยังเนื้อเยื่อไม่เพียงพอ เกิดภาวะเซลล์ขาดออกซิเจน นําไปสู่ภาวะหนี้ออกซิเจน
การประเมินสภาพ
ความหมาย
เป็นภาวะที่เกิดความผิดปกติทางสรีรวิทยาส่งผลให้ปริมาณออกซิเจนที่ส่งไปเลี้ยงเนื้อเยื่อทั่วร่างกายลดต่ําลง
นำไปสู่การขาดออกซิเจนในระดับเซลล์ (Cellular dysoxia)
เป็นภาวะที่ร่างกายเกิดความผิดปกติ เป็นผลให้เกิดการไหลเวียนโลหิตไปยังอวัยวะต่างๆไม่เพียงพอทําให้ปริมาณออกซิเจนที่ส่งไปเลี้ยงเนื้อเยื่อไม่เพียงพอ
ภาวะหัวใจล้มเหลวเฉียบพลัน Acute Heart Failure
อาการและอาการแสดง
Pulmonary edema
ภาวะที่มีอาการและอาการแสดงของปอดบวมน้ําร่วมด้วยอย่างชัดเจน
Cardiogenic shock
ภาวะที่ร่างกายมี poor tissue perfusion ถึงแม้จะมีการแก้ไขภาวะขาดน้ําแล้วก็ตาม
Hypertensive acute heart failure
มีอาการภาวะหัวใจล้มเหลวที่มีปอดบวมน้ํา โดยมีความดันโลหิตสูงรุนแรงร่วมด้วย
High output failure
ภาวะหัวใจล้มเหลวโดยมีปริมาณเลือดที่ออกจากหัวใจต่อนาทีสูงกว่าปกติ มักมีหัวใจเต้นเร็ว ปลายมือเท้าอุ่น ร่วมกับการมีภาวะน้ําท่วมปอด
Acute decompensated heart failure
กลุ่มผู้ป่วยที่มีอาการภาวะหัวใจล้มเหลวที่เกิดขึ้นเฉียบพลันแต่ไม่มีอาการรุนแรงมาก
Right heart failure
ภาวะที่หัวใจด้านขวาทํางานล้มเหลว มี ปริมาณเลือดที่ออกจากหัวใจต่อนาทีลดลง
การรักษา
การดึงน้ําและเกลือแร่ที่คั่งออกจากร่างกาย
(Negative fluid balance)
การจํากัดสารน้ําและเกลือโซเดียม
การให้ยาขับปัสสาวะ
การเจาะระบายน้ํา
การใช้ยา
การลดการทํางานของหัวใจ
(Decrease cardiac workload)
Intra-aortic balloon pump
ให้ออกซิเจน
การใส่เครื่องกระตุ้นไฟฟ้าหัวใจ
สาเหตุ
ภาวะหัวใจเต้นผิดปกติ
ภาวะหัวใจวาย
โรคหลอดเลือดหัวใจเฉียบพลัน
อาการที่พบบ่อย
นอนราบไม่ได้
บวมตามแขนขา
หายใจเหนื่อยหอบ
ความดันโลหิตปกติหรือ ต่ํา/สูง
ท้องอืดโต แน่นท้อง
เส้นเลือดดําที่คอโป่งพอง
เสียงปอดผิดปกติ(Lung crepitation)
เสียงหายใจวี๊ด(Wheezing)
พยาธิสภาพ
ในระยะเวลานานทําให้หัวใจทํางานหนักมากขึ้น
เกิดพังผืด เซลล์กล้ามเนื้อหัวใจหนา
มีปริมาณเลือดในหัวใจมากเกินไป
ร่างกายจึงมีการปรับสมดุล ทําให้เกิดการกระตุ้นระบบประสาทอัตโนมัติซิมพาเธติก เกิดperipheral vasoconstriction ทําให้มี peripheral resistance เพิ่มมากขึ้น
การประเมินสภาพ
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
CBC
biochemical cardiac markers
ABG
การตรวจพิเศษ
CXR
echocardiogram
CT
coronary artery angiography (CAG)
ซักประวัติและตรวจร่างกายเพื่อประเมินอาการทางคลินิกที่เกี่ยวข้อง
ความหมาย
การเกิดอาการและอาการแสดงของภาวะหัวใจล้มเหลวอย่างรวดเร็วจากการทํางานผิดปกติของหัวใจ
การพยาบาล
ลดการทํางานของหัวใจ
ส่งเสริมการไหลเวียนเลือดไปยังเซลล์ให้ได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอ
ภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ Cardiac arrhythmias : Sustained AF , VT , VF
Ventricular tachycardia (VT)
สาเหตุ
โรคหัวใจรูห์มาติก (Rheumatic heart disease)
ถูกไฟฟ้าดูด
กล้ามเนื้อหัวใจตายบริเวณกว้าง (Myocardial infarction)
ภาวะโพแทสเซียมในเลือดต่ํา
พิษจากยาดิจิทัลลิส (Digitalis toxicity)
อาการและอาการแสดง
ความดันโลหิตต่ํา
หน้ามืด
รู้สึกใจสั่น
เจ็บหน้าอก
หายใจลําบาก
หัวใจหยุดเต้น
ประเภทของ VT
Sustained VT คือ VTที่เกิดต่ออเนื่องกันเป็นเวลานานกว่า 30วินาที ซึ่งมีผลทําให้ระบบไหลเวียนโลหิตในร่างกายลดลง
Monomorphic VT คือ VT ที่ลักษณะของ QRS complexเป็นรูปแบบเดียว
Nonsustained VT คือ VTที่เกิดต่อเนื่องกันเป็นเวลาน้อยกว่า 30วินาที
Polymorphic VT หรือ Torsade คือ VT ที่ลักษณะของ QRS complexเป็นรูปแบบเดียว
การพยาบาล
2.คลําชีพจร ประเมินสัญญาณชีพ ระดับความรู้สึกตัว เจ็บหน้าอก ภาวะเขียว จํานวนปัสสาวะ
3.ร่วมกับแพทย์ในการดูแลให้ได้รับยาและแก้ไขสาเหตุหัวใจเต้นผิดจังหวะ
1.นําเครื่อง Defibrillator มาที่เตียงผู้ป่วยและรายงานแพทย์ทันที และเปิดหลอดเลือดดําเพื่อให้ยาและสารน้ํา
4.ในผู้ป่วยที่เกิด VTและคลําชีพจรได้ร;วมกับมีอาการของการไหลเวียนโลหิตในร่างกายลดลง ให้เตรียมผู้ป่วยในการทํา synchronized cardioversion
Ventricular fibrillation (VF)
การพยาบาล
เตรียมเครื่งมือ อุปกรณ์และยาที่ใช้ในการช่วยฟื้นคืนชีพให้พร้อม
ทํา CPR ทันที
อาการและอาการแสดง
รูม่านตาขยาย
หมดสติ ไม่มีชีพจร
สาเหตุ
Hydrogen ion (acidosis)
Hypokalemia
Hypoxia
Hypovolemia
Hyperkalemia
Hypothermia
Tension pneumothorax
Cardiac tamponade
Toxins
Pulmonary thrombosis
Coronary thrombosis
Atrial fibrillaation (AF)
สาเหตุ
โรคหัวใจรูห์มาติก
ภาวะหัวใจล้มเหลว
โรคหัวใจขาดเลือด
ความดันโลหิตสูง
เยื่อหุ้มหัวใจอักเสบ
ผู้ป่วยหลังผ่าตัดหัวใจ (open heart surgery )
อาการและอาการแสดง
อ่อนเพลีย
เหนื่อยเวลาออกแรง
ใจสั่น
ลําชีพจรที่ข้อมือได้เบา
ประเภทของ AF
Persistent AF หมายถึงAF ที่ไม่หายได้เองภายใน 7 วัน หรือหายได้ดัวยการรักษาด้วย
Permanent AF หมายถึง AF ที่เป็นนานติดต่อกันกว่า 1 ปีโดยไม่เคยรักษาหรือเคยรักษาแต่ไม่หาย
Paroxysmal AF หมายถึง AF ที่หายได้เองภายใน 7 วันโดยไม่ต้องใช้ยา
Recurrent AF หมายถึง AFที่เกิดซ้ํามากกว่า 1 ครั้ง
Lone AF หมายถึง AFที่เป็นในผู้ป่วยอายุน้อยกว่า 60 ปี ที่ไม่มีความผิดปกติของหัวใจ โรคความดันโลหิตสูง
การพยาบาล
3.ดูแลให้ได้รับยาควบคุมการเต้นของหัวใจ
4.ดูแลให้ได้รับยาต้านการแข็งตัวของเลือดตามแผนการรักษา
2.สังเกตอาการและอาการแสดงของการเกิดลิ่มเลือดอุดตัน สมอง ปอด แขนและขา
5.เตรียมผู้ป่วยและอุปกรณ์ในการทํา Cardioversion
1.ประเมินการเปลี่ยนแปลงของสัญญาณชีพและคลื่นไฟฟ้าหัวใจอย่างต่อเนื่อง