Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กระบวนการบริหารทางการพยาบาล Managemant Process, นางสาวมณีรัตน์ พรประภัย…
กระบวนการบริหารทางการพยาบาล
Managemant Process
P=Planning การวางแผน
ประเภทของการวางแผน
จําแนกตามเวลา
1) การวางแผนระยะสั้น
2) การวางแผนระยะปานกลาง
3) การวางแผนระยะยาว
จําแนกตามระดับการจัดการ
1) การวางแผนกลยุทธ์
2) การวางแผนบริหาร
3) การวางแผนปฏิบัติการ
3.จําแนกตามระดับโครงสร้างการบริหารประเทศ
1) แผนระดับชาติ
2) แผนระดับภาค
3) แผนระดับท้องถิ่น
จําแนกตามหน้าที่การงาน
1) การวางแผนด้านการผลิต
2) การวางแผนด้านบุคลากร
3) การวางเเผนด้านการตลาด
4) การวางเเผนด้านการเงิน
การจัดการเชิงกลยุทธ์ (Strategic
Management)ทางการพยาบาล
ขั้นตอนสําคัญของการจัดการเชิงกลยุทธ์องค์ประกอบ
ขั้นพื้นฐาน 4 กิจกรรม
2) การวางแผนกลยุทธ์(Strategic planning)
วิสัยทัศน์
ลักษณะของวิสัยทัศน์ที่ดี
มีความชัดเจน สามารถนำไปสู่การปฏิบัติได้
เป็นภาพเชิงบวกที่สะท้อนถึงความเป็นเลิศขององค์กรในอนาคต ซึ่งอาจจะกำหนดเวลาไว้ด้วยก็ได้
ต้องท้าทายความสามารถของสมาชิกทุกคน
มีความสอดคล้องกับแนวโน้มในอนาคต
เป้าหมายที่มีลักษณะกว้างๆ เป็นความต้องการในอนาคต โดยมิได้กำหนดวิธีการไว้เป็นข้อความทั่วไป ซึ่งกำหนดทิศทางของภารกิจ เป็นความมุ่งหมายในสถานภาพที่เราจะไปเป็น หรือเราไปอยู่ ณ วันหนึ่งในอนาคต ที่องค์กรมุ่งหมาย มุ่งหวังหรือประสงค์จะเป็น หรือจะมีในอนาคต
พันธกิจ
คือ ประกาศขององค์กรที่กำหนดว่าจะทำอะไรในปัจจุบัน กำลังจะทำอะไรในอนาคต และองค์กรเป็นองค์กรแบบใดและจะก้าวไปสู่การเป็นองค์กรแบบใด
เป้าประสงค์
ลักษณะของเป้าประสงค์ที่ดี
2) ระบุกลุ่มเป้าหมายที่องค์กรจะมอบสิ่งที่มีคุณค่าให้
3) ระบุคุณค่า ผลประโยชน์ ความเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นต่อกลุ่มเป้าหมาย
1) ขยายหลักการ สาระสำคัญที่ระบุไว้ในวิสัยทัศน์และพันธกิจให้มีความเป็นรูปธรรมมากขึ้น
4 )ต้องเป็นรูปธรรม สามารถแปลงเป็นกิจกรรมที่ง่ายต่อการมอบหมาย และการ กระจายงาน
5) ต้องเป็นไปได้ด้วยทรัพยากร และบุคลากรที่มีอยู่จริง
เป้าหมาย
ลักษณะของเป้าหมายที่ดี
2) เป็นทางเลือกที่มีเหตุผล และลดความขัดแย้ง
3) เฉพาะเจาะจง ชัดเจน
1) สามารถวัดผลได้ในแง่ ปริมาณ คุณภาพ เวลา
กลุ่มเป้าหมาย ต้นทุน ฯลฯ
4) ตกลงร่วมกัน
5) สมเหตุผล กำหนดเวลาชัดเจน
1) การวิเคราะห์เชิงกลยุทธ์(Strategic analysis)
3) การนํากลยุทธ์ไปปฏิบัติ(Strategic implementation)
การปรับโครงสร้างองค์กร
การปรับปรุงเปลี่ยนแปลงในส่วนของระบบและการพัฒนาทรัพยากรบุคคล
การกำหนดแผน และการจัดสรรทรัพยากร (Resources Allocation)
การกระจายกลยุทธ์ (Strategic Deployment)
O = Organizing
การจัดองค์กร
ความหมายของขอบเขตโครงสร้างองค์การ
โครงสร้างองค์การ เป็นการบ่งบอกว่างานขององค์การจัดแบ่งย่อย จัดรวมกลุ่มและประสานงานกัน
อย่างไร ในการออกแบบโครงสร้างองค์การ
มีองค์ประกอบสำคัญ ที่เกี่ยวข้องอยู่ 5 ประการ
ขอบเขตการควบคุม (Span of control)
การรวมศูนย์และการกระจายอํานาจ (Centralization and decentralization)
สายการบังคับบัญชา (Chain of command)
ความเป็นทางการ (Formalization)
ลักษณะเฉพาะของงาน (Work specification)
ขั้นตอนการจัดองค์การ
1.ระบุจุดมุ่งหมายขององค์กร
2.พิจารณากำหนดวัตถุประสงค์
3.พิจารณาจัดทำนโยบายหลักการ
พิจารณาหน้าที่งานต่าง ๆ
4.การจัดแผนกงานของหน้าที่งานต่าง ๆ
5.การจัดรูปแบบโครงสร้างองค์กรให้เป็นหลักฐานพร้อมเอกสารคู่มือองค์กร
6.พัฒนาระเบียบวิธีปฏิบัติที่จะใช้
เพื่อการปฏิบัติงาน
7.วิเคราะห์และกำหนดความชำนาญของพนักงานที่จำเป็น
S = Staffing คณะผู้ร่วมงาน
การบริหารทรัพยากรบุคคล
-การพ้นจากราชการ
-การวางแผนกำลังคน
-การเลื่อนตำแหน่ง
-การบรรจุแต่งตั้ง
D = Directing การอำนวยการ
หมายถึง การส่งเสริม ช่วยเหลือ ปรึกษา แนะนำสั่งการ ประสานกิจกรรม การติดต่อ การมอบหมายภารกิจต่าง ๆ เพื่อให้การดำเนินงานขององค์กรบรรลุ
วัตถุประสงค์ เป้าหมาย
กิจกรรมอำนวยการที่สำคัญ จำแนกได้ดังนี้
1.การประสานงาน
2.การตัดสินใจและสั่งการ
3.การสั่งงาน
4.การติดตามดูแลกำกับ และให้คำปรึกษา
5.การสร้างขวัญกำลังใจ และแรงจูงใจ
6.การใช้ภาวะผู้นำ
7.การสร้างมนุษย์สัมพันธ์
8.การจัดระบบสื่อสารและการสร้างเครือข่าย
9.การมอบหมายงานและการมอบอำนาจหน้าที่
10.การส่งเสริมกิจกรรมอื่น ๆ
B = Budgeting การงบประมาณ
หมายถึง การจัดทำงบประมาณการเงิน เริ่มตั้งแต่วางแผนจัดทำ
โครงการใช้จ่ายเงิน การบัญชี และการควบคุมการดูแลการใช้จ่ายให้รัดกุม
ผู้บริหารต้องศึกษาให้เข้าใจ และต้องมีความสามารถในการจัดหางบประมาณให้
เพียงพอในการใช้จ่าย , ต้นทุน Cost , งบประมาณ Budgetแบ่งได้ 2 ภาค คือ
1.งบประมาณภาคราชการ
2.งบประมาณของภาคเอกชน
R = Reporting การรายงานผลงาน
การที่ผู้มีหน้าที่เสนอผลของงาน หรือกิจกรรม ให้ผู้บริหาร
หรือผู้ร่วมงานได้ทราบ ซึ่งมีลักษณะสำคัญ 2 ลักษณะ
1.รายงานขณะปฏิบัติงาน
2.การรายงานเมื่อสิ้นสุดแผนงาน
สิ่งที่จำเป็นควรเน้นพิเศษในการรายงาน
1.รายงานเป็นกระบวนการ
รายงานการใช้ทรัพยากร
3.รายงานเกี่ยวกับผลที่เกิดขึ้น
4.รายงานเกี่ยวกับผลกระทบ
Co = Coordinating
การประสานงาน
หมายถึง การประสานงานโดยจัด
วางระเบียบการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที
วิธีการประสานงานที่สำคัญ
1.การจัดทำแผนผัง กำหนดหน้าที่การงานของหน่วยงาน
2.จัดทำคำสั่ง กำหนดหน้าที่ชัดเจน
3.ตั้งคณะกรรมการ ตามแผนงาน
4.ทำแผนปฏิบัติงาน และแผนควบคุมการปฏิบัติงาน
5.การกำหนดส่งงาน
6.การระบุการจัดสรรงบประมาณ การจัดกิจกรรม การควบคุมกิจกรรม
การจัดประชุม สัมมนา การกระจายข่าว
นางสาวมณีรัตน์ พรประภัย
รหัสนักศึกษา 61170059