Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคหัด รูปหัดเด็ก, อ้างอิง
รองศาสตราจารย์ นายแพทย์ ทวี โชติพิทยสุนนท์(256…
โรคหัด
โรคหัด คือเป็นโรคไข้ออกผื่น (Exanthematous fever) เกิดจากเชื้อ Measles virus ใน Genus Morbilivirus Faminly Paramyxoviridae ที่พบได้บ่อยในเด็กอายุ 1-4 ปี ถ้าไม่ได้รับวัคซีนป้องกันโรค เด็กมีโอกาสจะเป็นหัดได้เมื่อภูมิคุ้มกันที่ผ่านมาจากแม่หมดไปเมื่ออายุประมาณ 6-9 เดือน เด็กอายุต่ำกว่า 6 เดือนมักจะไม่เป็นหัด ยกเว้นรายที่ภูมิคุ้มกันในมารดามีน้อย
สาเหตุโรคหัด
-
-
-
ติดต่อจากการหายใจเอาละอองฝอยที่มีเชื้อไวรัสปนเปื้อนอยู่เข้าไปในร่างกาย เชื้อไวรัสหัดสามารถแพร่กระจายได้ค่อนข้างง่าย
พยาธิสรีรภาพ
เชื้อเข้าสู่ร่างกายทางจมูกหรือปากและแพร่ไปตามต่อมน้ำเหลืองเข้าสู่กระแสเลือดและไปแบ่งตัวเพิ่มจำนวนในอวัยวะต่าง ๆ เช่น ตับ ม้าม ไขกระดูก แล้วกลับออกมาในกระแสเลือดอีกครั้ง ทำให้มีอาการทั่วร่างกาย และผู้ป่วยจะมี hyperplasia ของต่อมน้ำเหลืองทั่วร่างกาย
ลักษณะอาการของโรคหัด
-
-
-
การป้องกัน
ในช่วงที่มีการระบาดของโรคหัด ควรหลีกเลี่ยงการอยู่ในสถานที่แออัดหรือสวมหน้ากากอนามัย ล้างมือให้สะอาดบ่อยครั้ง
-
แยกผู้ป่วยออกจากสมาชิกคนอื่นในครอบครัวจนกว่าจะพ้นระยะติดต่อของโรค หากต้องดูแลผู้ป่วยให้สวมหน้ากากอนามัยและล้างมือให้สะอาดทุกครั้ง
ผู้ที่สัมผัสกับผู้ป่วยโรคหัด
เด็กที่อายุต่ำกว่า 6 เดือน หรือเด็กที่เคยเป็นโรคหัด ไม่ต้องทำอะไร เด็กที่อายุมากกว่า 6 เดือน และไม่เคยเป็นโรคหัดถ้าเด็กมีภูมิคุ้มกันโรคต่ำและสัมผัสโรคหัดในระยะติดต่อไม่เกิน 2 วัน ควรให้วัคซีนป้องกันโรคหัด ถ้าสัมผัสกับโรคเกิน 2 วันไปแล้ว ควรให้ gamma globulin
การรักษา
-
-
-
-
-
ภาวะแทรกซ้อน
-
สมองอักเสบ, ติดเชื้อแบคทีเรียแทรกซ้อน
-
วัคซีนโรคหัด
วัคซีนรวมเพื่อป้องกันโรคหัดคางทูมและหัดเยอรมัน (measles-mumps-rubella, MMR) จะฉีดให้เด็กอายุ 9เดือน หากไม่ฉีด 9เดือนให้รีบฉีดโดยเร็วที่สุดและต้องได้รับ MMR2 อีกครั้งตอนอายุ 1ปี6เดือน
-
-
ข้อห้ามและควรระวัง
- ห้ามให้ในหญิงตั้งครรภ์เพราะเป็นอันตรายต่อเด็กในครรภ์ ไม่ควรฉีดในผู้ที่มีภูมิ คุ้มกันบกพร่อง
-ไม่ควรฉีดในผู้ที่มีภูมิคุ้มกันบกพร่อง ยกเว้น HIV ที่ CD4>15%
-ไม่ควรฉีดในผู้ที่มีประวัติ Neomycinแบบ Anaphylaxis
การจัดเก็บ
-เก็บที่อุณหภูมิ 2-8 องศาอยู่ได้นาน 3เดือน
-หลังเปิดขวดต้องใช้ให้หมดภายใน 6ชั่วโมง
-ก่อนผสมต้องนำวัคซีนออกจากช่องแช่แข็งก่อน 1วัน
อ้างอิง
รองศาสตราจารย์ นายแพทย์ ทวี โชติพิทยสุนนท์(2562). โรคหัด หัดเยอรมัน และหัดเยอรมันแต่กำเนิด.กรุงเทพ:สมาคมโรคติดเชื้อในเด็กแห่งประเทศไทยและกระทรวงสาธารณสุข
รศ.ดร.วิลาวัณย์ พิเชียรเสถียร (2560).หลักการพยาบาลผู้ป่วยเด็กโรคติดเชื้อ.เชียงใหม่:คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
-