Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยวิกฤตในระบบหัวใจและการไหลเวียนโลหิต, image, image, image,…
การพยาบาลผู้ป่วยวิกฤตในระบบหัวใจและการไหลเวียนโลหิต
ภาวะความดันโลหิตสูงวิกฤต (Hypertensive crisis)
สาเหตุ
การหยุดยาลดความดันโลหิตทันที (Sudden withdrawal of antihypertensive medications)
Acute or chronic renal disease
Exacerbation of chronic hypertension
การใช้ยาบางชนิดที่มีผลทำให้ความดันโลหิตสูง
อาการ
ปวดศรีษะ การมองเห็นผิดปกติ สับสน คลื่นไส้ อาเจียน
การตรวจร่างกาย
วัดสัญญาณชีพ
โดยวัดความดันโลหิตเปรียบเทียบกันจากแขนซ้ายและขวา
โรคหลอดเลือดสมอง
แขนขาชาหรืออ่อนแรงครึ่งซีก มองเห็นไม่ชัดหรือตามัวชั่วขณะ
(blurred vision)
Papilledema ช่วยประเมินภาวะ increased intracranial pressure ตรวจ retina
cotton-wool spots and hemorrhages แสดงว่า มีการแตกของ retina blood vessels
และ retina nerves ถูกทำลาย
Chest pain บอกอาการของ acute coronary syndrome or aortic dissection
oliguria or azotemia (excess urea in the blood) แสดงถึงภาวะไตถูกทำลาย
ภาวะความดันโลหิตสูงอย่าง
เฉียบพลันสูงกว่า 180/120 mmHg และทำให้เกิดการทำลายของอวัยวะเป้าหมาย (target organ)
การตรวจทางห้องปฏิบัติการและการตรวจพิเศษ
ตรวจ CBC
ประเมินภาวะ microangiopathic hemolytic anemia (MAHA)
ตรวจการทำงานของไต
Creatinine และ Glomerular filtration rate (eGFR) และค่าอัลบู
มินในปnสสาวะ
ประเมินหาความผิดปกติของหัวใจ
ตรวจคลื่นไฟฟsาหัวใจ (12-lead
ECG)
chest X-ray
การรักษา
ลดความดันโลหิตเฉลี่ย (mean arterial pressure) ลงจาก
ระดับเดิม 20-30% ภายใน 2 ชั่วโมงแรก และ 160/100 มม.ปรอท ใน 2-6 ชั่วโมง
ยาลดความดันโลหิต
sodium nitroprusside
nicardipine
nitroglycerin
labetalol
การพยาบาล
เฝ้าติดตามอย่างใกล้ชิดเกี่ยวกับอาการและอาการแสดง
Neurologic symptoms
สับสน confusion, stupor, seizures, coma, or stroke
Cardiac symptoms
aortic dissection, myocardial ischemia, dysrhythmias
ประเมินและบันทึกการตอบสนองต่อยาโดยติดตามความดันโลหิตอย่างใกล้ชิด
การรักษาด้วย short-acting intravenous antihypertensive agents ได้แก่ sodium
nitroprusside
Cardiac dysrhythmias
Atrial fibrillation (AF)
ภาวะหัวใจห้องบนเต้นสั่นพริ้ว
ประเภทของ AF
Paroxysmal AF
AF ที่หายได้เองภายใน 7 วันโดยไม่ต้องใช้ยา หรือการช็อคไฟฟ้า
(Electrical Cardioversion)
Persistent AF
AF ที่ไม่หายได้เองภายใน 7 วัน หรือหายได้ดัวยการรักษาด้วยยา หรือ
การช็อค ไฟฟ้า
Permanent AF
AF ที่เป็นนานติดต่อกันกว่า 1 ปีโดยไม่เคยรักษา
Recurrent AF
AF ที่เกิดซ้ำมากกว่า 1 ครั้ง
Lone AF
AFที่เป็นในผู้ป่วยอายุน้อยกว่า 60 ปี ที่ไม่มีความผิดปกติของหัวใจ โรคความดัน
โลหิตสูง
สาเหตุ
หัวใจขาดเลือด
โรคหัวใจรูห์มาติก
ภาวะหัวใจล้มเหลว
ความดันโลหิตสูง
เยื่อหุ้มหัวใจอักเสบ
ผู้ป่วยหลังผ่าตัดหัวใจ (open heart surgery)
hyperthyrodism
อาการและอาการแสดง
ใจสั่น อ่อนเพลีย เหนื่อยเวลาออกแรง คลำชีพจรที่ข้อมือได้เบา
การพยาบาล
ประเมินการเปลี่ยนแปลงของสัญญาณชีพและคลื่นไฟฟ้าหัวใจอย่างต่อเนื่อง
สังเกตอาการและอาการแสดงของการเกิดลิ่มเลือดอุดตัน สมอง ปอด แขนและขา
ดูแลให้ได้รับยาควบคุมการเต้นของหัวใจ เช่น digoxin, beta-blocker เป็นต้น
เตรียมผู้ป่วยในการจี้ด้วยคลื่นไฟฟ้าความถี่สูง (Radiofrequency Ablation)
Ventricular tachycardia (VT)
ภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ
ประเภทของ VT
Nonsustained VT
VT ที่เกิดต่อเนื่องกันเป็นเวลาน้อยกว่า 30วินาที
Sustained VT
VT ที่เกิดต่อเนื่องกันเป็นเวลานานกว่า 30วินาที
Monomorphic VT
VT ที่ลักษณะของ QRS complex เป็นรูปแบบเดียว
Polymorphic VT
VT ที่ลักษณะของ QRS complex เป็นรูปแบบต่างกัน
สาเหตุ
ผู้ป่วยกล้ามเนื้อหัวใจตายบริเวณกว้าง (Myocardial infarction)
โรคหัวใจรูห์มาติก
(Rheumatic heart disease)
ไฟฟ้าดูด
ภาวะโพแทสเซียมในเลือดต่ำ
พิษจากยาดิจิทัลลิส (Digitalis
toxicity)
อาการและอาการแสดง
เกิดทันที ผู้ป่วยจะรู้สึกใจสั่น ความดันโลหิตต่ำ หน้ามืด เจ็บหน้าอก หายใจลำบาก หัวใจหยุดเต้น
การพยาบาล
คลำชีพจร ประเมินสัญญาณชีพ ระดับความรู้สึกตัว เจ็บหน้าอก ภาวะเขียว จำนวนปัสสาวะ
ดูแลให้ได้รับยาและแก้ไขสาเหตุหัวใจเต้นผิดจังหวะ
ทำ CPR ถ้าหัวใจหยุดเต้น
Ventricular fibrillation (VF)
ภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ ชนิดที่ ventricle เป็นจุดกำเนิดการ
เต้นของหัวใจตำแหน่งเดียวหรือหลายตำแหน่ง
สาเหตุ
Hypovolemia (ภาวะสูญเสียน้ำในร่างกาย)
Hypoxia (ภาวะเนื้อเยื่อพร่องออกซิเจน)
Hydrogen ion (acidosis) (ภาวะเลือดเป็นกรด)
Hypokalemia (ภาวะโพแทสเซียมในเลือดต่ำ)
Hyperkalemia (ภาวะโพแทสเซียมในเลือดสูง)
Hypothermia (ภาวะอุณหภูมิในร่างกายต่ำ)
Tension pneumothorax (ภาวะลมดันในช่องปอด)
Cardiac tamponade (ภาวะบีบรัดหัวใจ)
Toxins
Pulmonary thrombosis (โรคลิ้มเลือดอุดกั้นในปอด)
Coronary thrombosis (หลอดเลือดหัวใจตีบ)
อาการและอาการแสดง
เกิดทันที คือ หมดสติ ไม่มีชีพจร รูม่านตาขยาย เนื่องจากหัวใจไม่สามารถสูบฉีดเลือด และเสียชีวิต
การพยาบาล
การช็อกไฟฟ้าหัวใจทันที และการกดหน้าอก
ภาวะหัวใจล้มเหลวเฉียบพลัน (Acute Heart Failure [AHF])
สาเหตุ
โรคหลอดเลือดหัวใจเฉียบพลัน ภาวะหัวใจเต้นผิดปกติ ภาวะหัวใจวาย
กลไกการไหลเวียนของเลือดผิดปกติเฉียบพลัน
อาการและอาการแสดง
หายใจเหนื่อยหอบ นอนราบไม่ได้ อ่อนเพลีย แขนขาบวม ความดันโลหิตปกติหรือ ต่ำ/สูง ท้องอืด
ปัสสาวะออกน้อย/มาก หัวใจเต้นเร็ว หายใจเร็ว เส้นเลือดดำที่คอโป่งพอง
การพยาบาล
การลดการทำงานของหัวใจ (Decrease cardiac workload)
ดูแลให้ได้รับยาขับปัสสาวะตามแผนการรักษา
ดูแลให้ได้รับยาขยายหลอดเลือดตามแผนการรักษา
การลดความต้องการใช้ออกซิเจนของร่างกาย
ดูแลให้ได้รับยาลด/ควบคุม จังหวะหรืออัตราการเต้นของหัวใจ
ดูแลช่วยให้ได้รับการใส่เครื่องพยุงหัวใจ
การเพิ่มประสิทธิภาพการบีบตัวของกล้ามเนื้อหัวใจ
ดูแลให้ได้รับยาช่วยเพิ่มแรงบีบตัวของหัวใจ
ดูแลให้ได้รับสารน้ำและอาหารอย่างเพียงพอ
ติดตามผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ภาวะช็อก (Shock)
ภาวะที่ปริมาณออกซิเจนที่ส่งไปเลี้ยงเนื้อเยื่อทั่ว
ร่างกายลดต่ำลงกว่าความต้องการใช้ออกซิเจนของเนื้อเยื่อและอวัยวะ
ระยะของช็อก
ภาวะช็อกที่สามารถชดเชยได้ในระยะแรก (Compensated shock)
ภาวะช็อกที่สามารถชดเชยได้ในระยะท้าย (Decompensated shock)
ภาวะช็อกที่ได้รับการ
วินิจฉัยล่าช้า เซลล์ในร่างกายเริ่มตาย การทำงานของอวัยวะต่างๆลดลง
ภาวะช็อกที่ไม่สามารถชดเชยได้ (Irreversible shock)
ภาวะที่ทำให้เซลล์หรืออวัยวะต่างๆในร่างกายได้รับความเสียหายเป็นอย่างมาก
ประเภทของช็อก
ภาวะช็อกจากการขาดสารน้ำ (Hypovolemic shock)
เกิดจากการลดลงของปริมาณของเลือดหรือสารน้ำในร่างกาย ทำให้ปริมาณเลือดที่กลับเข้าสู่หัวใจ (Venous return หรือ preload) ลดลง
สาเหตุ
สูญเสียเลือดจากอุบัติเหตุ
ไฟไหม้น้ำร้อนลวก
ภาวะช็อกจากภาวะหัวใจล้มเหลว (Cardiogenic shock)
เป็นภาวะช็อกที่เกิดจากหัวใจไม่สามารถส่งจ่ายเลือดไปยังส่วนต่างๆของร่างกาย
สาเหตุ
ได้รับสารพิษ
งูกัด
ภาวะช็อกจากหลอดเลือดมีการขยายตัว (Distributive shock, vasogenic)
หลอดเลือดส่วนปลายขยายตัว ทำให้เกิดการลดลงของแรงต้านทานของ
หลอดเลือด (SVR) ร่วมกับมีการไหลเวียนเลือดในระบบลดลง
สาเหตุ
ภาวะช็อกจากการติดเชื้อ (Septic shock)
เชื้อโรคจะมีการหลั่งชีวพิษในตัว (endotoxin) ร่างกายจึงมีการตอบสนองโดยการหลั่งสาร
cytokines
ภาวะช็อกจากการแพ้ (Anaphylactic shock)
เป็นภาวะช็อกที่เกิดในภาวะ anaphylaxis เกิดจากปฏิกิริยาของผู้ป่วยที่ได้รับ antigen กับ
antibody ของร่างกาย (antigen-antibody reaction) ทำให้หลอดเลือดขยายตัว
ภาวะช็อกจากการทำงานผิดปกติของต่อมหมวกไต (Hypoadrenal / adrenocortical
shock)
เป็นภาวะช็อกที่ร่างกายไม่สามารถผลิต cortisol ในปริมาณมากพอกับความต้องการร่างกาย
ภาวะช็อกจากการอุดกั้นการไหลเวียนของเลือดเข้าสู่หัวใจ (Obstructive shock)
เกิดจากการอุดกั้นการไหลเวียนของโลหิตไปสู่หัวใจห้องซ้าย
ภาวะช็อกจากความผิดปกติของระบบประสาท (Neurogenic shock)
สาเหตุ
การบาดเจ็บของไขสันหลังเกิดขึ้นภายใน 24 ชั่วโมงแรกจนถึง 1-3
สัปดาห์
การพยาบาล
การป้องกันเนื้อเยื่อขาดออกซิเจน
ดูแลใหh้ด้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอ
การส่งเสริมการไหลเวียนโลหิตอย่างเพียงพอกับความต้องการของร่างกาย
ดูแลให้สารน้ำและอิเล็กโตรไลทTทดแทนตามแผนการรักษา
ติดตามค่า CVP (ปกติ 8-12 cmH2O) เพื่อประเมินความเพียงพอของสารน้ำภายหลังการได้รับ
การรักษา
ดูแลเตรียมให้ได้รับการตรวจเพื่อหาสาเหตุ เช่น การทำ gastric lavage การทำ EGD
อาการและอาการแสดง
กระสับกระส่าย ซึม หมดสติ เซลล์สมองตาย ภาวะร่างกายเป็นกรด เป็นต้น
การตรวจร่างกาย
การประเมินทางเดินหายใจ การประเมินลักษณะและอัตราการหายใจ การ
ประเมินการไหลเวียนโลหิตและการทำงานของหัวใจ และ การประเมินระดับความรู้สึกตัว
นางสาวณัฐลิตา ช่างฝั้น 6101210569 Sec.A เลขที่ 25