Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แนวโน้มการศึกษาไทยในอนาคต - Coggle Diagram
แนวโน้มการศึกษาไทยในอนาคต
ปัญหาการการศึกษาไทย
ปัญหาการศึกษาที่พบจากการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่ 2
รายได้เฉลี่ยต่อหัวของประชากรค่อนข้างต่ำคุณภาพของประชาชนยังด้อยกว่าประเทศอื่นๆ มาตรฐานความเป็นอยู่ ส่วนใหญ่ยังอยู่ในระดับต่ำ ภาครัฐยังให้ความสำคัญกับการศึกษาปฐมวัยน้อยเกินไป
2.ปัญหาการศึกษาที่พบจากรายงานการวิจัยทางการศึกษา
1) ปัญหาคุณภาพผู้เรียน
2) ปัญหาคุณภาพครูและการผลิตครู
3) ปัญหาคุณภาพการอุดมศึกษาไทย
4) ปัญหางบประมาณทางการศึกษา
5) ปัญหาบริหารงานการศึกษา
6) ปัญหานโยบายการจัดการศึกษา
แนวทางการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง (พ.ศ. 2552-2561)
1.ข้อเสนอแนะแนวทางปฏิรูปการศึกษาไทย
รัฐบาลจะมุ่งเน้นให้คนไทยได้เรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ
2) เพิ่มโอกาสทางการศึกษาและเรียนรู้อย่างทั่วถึงและมีคุณภาพ
3) ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนของสังคมในการบริหารและจัดการศึกษา
1) พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา และเรียนรู้ของคนไทย
กรอบแนวทางการปฏิรูปการศึกษา
1) สามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง รักการอ่าน และมีนิสัยใฝ่เรียนรู้ตลอดชีวิต
2) มีความสามารถในการสื่อสาร สามารถคิดวิเคราะห์ แก้ปัญหา คิดริเริ่มสร้างสรรค์
3) มีจิตสาธารณะ มีระเบียบวินัย เห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวม สามารถทำงานเป็นกลุ่ม
4) มีศีลธรรม คุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม จิตสำนึกและความภูมิใจในความเป็นไทย และสามารถก้าวทันโลก
นโยบายการแก้ปัญหาการศึกษาไทย
3.1 นโยบายกระทรวงศึกษาธิการ
3.2) แผนปฏิบัติการด้านการศึกษาอาเซียน +3 (ระหว่างพ.ศ. 2553-2560)
กระบวนทัศน์ใหม่กับการจัดการศึกษาไทยที่ยั่งยืน
การจัดการศึกษาตามหลักพระพุทธศาสนา
ยึดแนวปฏิบัติ 3 ขั้นการศึกษาเป็นพื้นฐานกันและกัน ได้แก่ สีลสิกขา จิตตสิกขา และปัญญาสิกขา
การจัดการศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
1) สถานศึกษาต้องจัดหลักสูตรเกี่ยวกับสังคม และความพอประมาณ ให้สอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียน ความจำเป็นของชุมชน ความเหมาะสมกับภูมิประเทศ สภาพแวดล้อมและความคิด ความเชื่อ วิถีชีวิต
2) การจัดกิจกรรมในสถานศึกษาต้องมีความสมเหตุสมผลและสอดคล้องกับหลักวิชาการ รายละเอียดตามโครงการกิจกรรม ต้องคำนึงถึงความรอบคอบของการวางแผนดำเนินโครงการ
3) การวางแผนโครงการต่างๆในสถานศึกษา คำนึงถึงความเสี่ยงในการดำเนินโครงการ โดยมีข้อเสนอทางเลือก หากมีการเปลี่ยนแปลงต่างๆ เกิดขึ้น สอดคล้องตามหลักภูมิคุ้มกันที่ดี
3.การบริหารการศึกษาไทยตามหลักธรรมาภิบาล
1) หลักประสิทธิผล 2) หลักประสิทธิภาพ 3) หลักการตอบสนอง 4) หลักภาระรับผิดชอบ 5) หลักความโปร่งใส 6) หลักการมีส่วนร่วม 7) หลักการกระจายอำนาจ 8) หลักนิติธรรม 9) หลักความเสมอภาค 10) หลักมุ่งเน้นฉันทามติ
แนวโน้มการจัดการศึกษาไทยในอนาคต
1.การจัดหลักสูตรการศึกษาไทยในอนาคต
1) แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงทางด้านบวก
1.2) หลักสูตรนานาชาติมีแนวโน้มมากขึ้น
1.3) การจัดการศึกษามีความเป็นสากลมากขึ้น
1.1) เกิดหลักสูตรใหม่เกิดขึ้นจำนวนมาก
1.4) ความเหลื่อมล้ำด้านโอกาสทางการศึกษาลดลง
1.5) โอกาสรับบริการทางการศึกษาที่มีคุณภาพเพิ่มขึ้น
2)แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงทางด้านลบ
2.1) การเพิ่มช่องว่างด้านคุณภาพในการจัดการศึกษา
2.2) การผลิตบัณฑิตเกินความต้องการของตลาด
2.3) การสอนทักษะการคิดและทักษะทางอารมณ์ยังไม่มีคุณภาพ
2.4) การสอนคุณธรรมจริยธรรมยังไม่มีคุณภาพ
2.5) การสอนภาษาต่างประเทศยังไม่มีคุณภาพ
การจัดสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ในอนาคต
1)การจัดการเรียนการสอน ต้องให้ผู้เรียนเป็นศูนย์กลางอย่างแท้จริง
2)ครู ให้นิยามใหม่กับ “ครู” โดยปรับเปลี่ยนจากบทบาทแบบดั้งเดิมที่ครูเป็นผู้ถ่ายโอนความรู้ สู่การเป็นครูที่ให้คำปรึกษา เป็นผู้ชี้แนะ เป็นผู้อำนวยความสะดวกในการเรียนรู้ให้กับผู้เรียน
3) หลักสูตร ต้องปรับเปลี่ยนหลักสูตรให้สอดคล้องกับแนวทางการพัฒนาประเทศ เน้นการเรียนรู้อย่างแท้จริง
4)การประเมิน ควรเน้นการประเมินให้สอดรับกับเป้าประสงค์และวัตถุประสงค์การเรียนรู้ของนักเรียน ไม่มุ่งเน้นเพียง “การสอนเพื่อการสอบ”
5)การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทบาทครูกับการจัดการศึกษาในอนาคต
1) การจัดการความรู้ของตนเอง
2) การจัดการความรู้ของชั้นเรียน
3) การจัดการความรู้ของสถานศึกษา
4)การจัดการความรู้ของชุมชน
การจัดการความรู้ในอนาคต
3) การปรับปรุง ดัดแปลงหรือสร้างความรู้เพิ่มเติมได้อย่างเหมาะสมกับการใช้งาน
4) การประยุกต์ใช้ความรู้ในการทำงาน
2) การแสวงหาความรู้ที่ต้องการ
5) การสกัดองค์ความรู้ที่ได้จากประสบการณ์และการแลกเปลี่ยนความรู้
1) การกำหนดความรู้ที่จำเป็นต่องานหรือหน่วยงาน
6) การบันทึกความรู้และปรับปรุงให้เหมาะสมต่อการดำเนินงานยิ่งขึ้น