Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Covid-19, image, image, โดยในกรณีศึกษานี้ปัจจัยเสี่ยงที่ทำให้ผู้ป่วยมีอากา…
Covid-19
-
1.แพทย์จะวินิจฉัยจากอาการและการตรวจร่างกาย และทำการตรวจวินิจฉัยด้วยการตรวจ X- Ray ปอดและตรวจเลือด รวมถึงนำเสมหะของคนไข้ไปตรวจเพาะเชื้อเพื่อยืนยันการวินิจฉัยโรคและตรวจแยกเชื้อที่เป็นสาเหตุ
-
3.เอกซเรย์ทรวงอกเมื่อเข้ารับการรักษา
แสดงปริมาตรความจุปอดและภาวะปอดแฟ่บ
โดยปกติอาการของปอดอักเสบติดเชื้อที่พบได้บ่อยได้แก่ มีไข้ ไอ มีเสมหะ หายใจเหนื่อย หายใจลำบาก เจ็บเสียดบริเวณหน้าอกเวลาหายใจเข้า การวินิจฉัยแยกโรค แพทย์ตรวจร่างกายพบเสียงปอดผิดปกติ ร่วมกับเอ็กซเรย์ปอดพบฝ้าขาวผิดปกติ โดยเชื้อก่อโรคที่ทำให้เกิดโรคปอดอักเสบติดเชื้อพบได้ทั้งแบคทีเรีย, ไวรัส หรือเชื้อรา
4.มีไข้ ไอแห้ง หายใจลำบากพบเสียงปอดผิดปกติ เข้าข่ายของอาการpneumonia จึงได้ตรวจเชื้อแยกโรคทางurineพบผลเชื้อ เชื้อStreptococcus pneumoniae และ Legionella pneumophilia เป็นลบ ซึ่งแสดงว่าไม่ใช่โรคปอดอักเสบจากการติดเชื้อแบคทีเรีย.
5.จึงทำการตรวจไวรัส ที่ก่อโรคทางเดินหายใจ 19 ชนิด โดยใช้เทคนิค polymerase chain reaction PCR5.จึงทำการตรวจไวรัส ที่ก่อโรคทางเดินหายใจ 19 ชนิด โดยใช้เทคนิค polymerase chain reaction PCR
5.1)ได้ผลสำหรับตัว ไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ A และ B, [ไวรัส RSV (Respiratory Syncytial Virus),adenovirus, เชื้อไวรัส Human Metapneumovirus(hMPV) และ parainfluenza 1-4 เป็นลบ
5.2) Nasopharyngeal swab RT-PCR พบเชื้อ SARS-CoV-2 ได้ผล positive
แพทย์จึง ยืนยันการวินิจฉัย COVID-19 pneumonia.
2.ปัจจัยเสี่ยง
กระทรวงสาธารณสุข : การติดเชื้อในผู้สูงอายุ จะมีโอกาสเสียชีวิต มากกว่าคนทั่วไปเนื่องด้วยสภาพร่างกายที่ไม่แข็งแรง ภูมิคุ้มกันลดลงตามวัย โดยเฉพาะผู้สูงอายุที่มีโรคประจำตัว เช่น โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคปอดเรื้อรังโรคไตเรื้อรัง โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคมะเร็ง เป็นต้น
ผศ.นพ.จักรพันธุ์ ศิริบริรักษ์: ผู้ที่จะเกิดโรครุนแรง คือ ผู้มีปัจจัยเสี่ยง ได้แก่ มีอายุมากกว่า 60 ปี มีความดันโลหิตสูง โรคปอดเรื้อรัง โรคไตเรื้อรัง
โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคหลอดเลือดสมอง
เบาหวานที่ควบคุมไม่ได้ ภาวะอ้วน (ดัชนีมวลกาย; BMI≥35) ตับแข็งภูมิคุ้มกันต่ำ และเม็ดเลือดขาวชนิด lymphocyte < 1,000 /mm3
นพ.ประยุทธ อังกูรไกรวิชญ์ : ผู้ป่วยที่มีภูมิคุ้มกันบกพร่อง เช่น ผู้ป่วยโรคมะเร็ง จะมีภูมิคุ้มกันที่อ่อนแอ ทำให้ร่างกายไม่สามารถต่อสู้กับเชื้อโรคได้ จึงทำให้เสี่ยงอาการรุนแรงและยังอาจติดเชื้อนานกว่าผู้ป่วยทั่วไป
-
-
โดยในกรณีศึกษานี้ปัจจัยเสี่ยงที่ทำให้ผู้ป่วยมีอาการรุนแรงมากขึ้น คือ ผู้ป่วยมีอายุ 60 ปี และ 6 ปีก่อนได้รับการวินิจฉัย multiple myeloma (MM) ซึ่ง 2 ปัจจัยนี้เป็นปัจจัยที่ทำให้การดำเนินของโรคมีความรุนแรงมากขึ้น
-
-