Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคหลอดเลือดหัวใจ (CORONARY ARTERY DISEASE: CAD), Angina, Unstable angina…
โรคหลอดเลือดหัวใจ
(CORONARY ARTERY DISEASE: CAD)
Acute Coronary Syndrome
ชนิด ACS
ST- elevation acute coronary syndrome
พบความผิดปกติของคลื่นไฟฟ้ าหัวใจมีลักษณะ ST
segment ยกขึ้ นอย่างน้อย 2 leads ที่ต่อเนื่องกัน
หรือเกิด left bundle branch block (LBBB) ขึ้นมาใหม
Non-ST-elevation acute coronary syndrome
ไม่พบ ST elevation มักพบลักษณะ
ของคลื่นไฟฟ้ าหัวใจเป็ น ST segment depression
หรือ T wave inversion ร่วมด้วย
หากมีอาการนานกว่า 30 นาที อาจจะเกิด
กล้ามเนื้ อหัวใจตายเฉียบพลันชนิด non-ST elevation MI
( NSTEMI, or Non-Q wave MI )
ถ้าอาการไม่รุนแรงอาจเกิดเพียงภาวะเจ็บ
เค้นอกไม่คงที่ (unstable angina; UA)
สาเหตุ
มีลิ่มเลือดอุดตัน
คราบไขมัน (atheromatous plaque rupture) ร่วมกับ
หลอดเลือดแดงโคโรนารีอุดตันจากการแตกของ
พยาธิสรีรภาพ
Arterial spasm
Sudden reversibl obstruction
Artherosclerosis
Obstruction
Artherosclerosis +
Plaque split + Thrombus
Occlusion
Ischaemia
Hypoxia
Reduced oxygen demand
Thrombolysis
Permanent thrombus
Necrosis
สาเหตุของโรคหลอดเลือดหัวใจ
Coronary atherosclerosis (more than 90%)
Coronary spasm
Dissecting
Embolism
Circulation disorder (shock, heart failure)
Arteritis
อาการเจ็บหน้าอก
angina pectoris
ชนิดไม่คงที่ (Unstable angina)
เกิดจากปัจจัยเหนี่ยวน าที่สามารถทำนาย
ระยะเวลาที่เจ็บประมาณ 0.5-20 นาที
จะดีขึ้นเมืื่อนอนพัก
เกิดจากรูหลอดเลือดแดงโคโรนารีแคบเกินกว่า 75%
ชนิดคงที่ (Stable angina)
มีระดับความเจ็บปวดรุนแรงกว่าอาการเจ็บหน้าอกชนิดคงท
เจ็บนานมากกว่า 20 นาท
ไม่สามารถทำให้อาการดีขึ้นด้วยการอมยาขยายหลอดลม
ชนิดอมใต้ลิ้น (Nitroglycerine) จ านวน 3 เม็ด
ควรได้รับการรักษาที่โรงพยาบาลอย่างรีบด่วน
พยาธิสภาพเกิดจาก plaque rupture (Acute
Myocardial Infarction)
การเปลี่ยนแปลงของกลามเนอหวใจบริเวณที่ขาด
เลือดมาเลี่ยงแบงความรนแรงเป็น 3 ลักษณะ
กล้ามเนื้อหวใจขาดเลอดไปเลยง (Ischemia)
เป็นภาวะทเลอดไปเลยงกลามเนอหสใจน้อยลง เป็นเหตุให้เซลล์ขาดออกซิเจน ซึ่งเปนภาวะเริ่มแรกของกล้ามเนื้อหัวใจตาย
คลื่นไฟฟ้ามีคลื่น T ลกษณะหัวกลับ
กลามเนอหวใจไดรบบาดเจบ (Injury)
เป็นภาวะที่เซลล์ของกล้ามเนื้อหัวใจ ขาดออกซิเจน
แต่ยังพอที่งานได้แต่ ไม่สมบูรณ์
คลื่นไฟฟาหัวใจมี ST ยกขึ้น (ST
segment elevation) หรอ ตลง (ST
segment depression)
กลามเนอหวใจตาย (Infarction)
ภาวะทกลามเนอหวใจขาดออกซเจนมาก
คลื่นไฟฟ้าหัวใจจะปรากฎคลื่น Q ที่กว้าง มากกวา 0.04 วนาที
การวินิจฉัยโรค
1.การซักประวัติอย่างละเอียดรวมทั้งปัจจัยเสี่ยงต่างๆ
จากการตรวจร่างกาย
ถ้ามีกล้ามเนื้อหัวใจตายร้อยละิ25 ขึ้นไป จะมีอาการของหัวใจซีกซ้ายล้มเหลว น้ำท่วมปอด หายใจลำบาก เขียว ไอ เสมหะปนเลือด
ถ้ามีกล้ามเนื้อหัวใจตาย 40 ขึ้นไป จะมีอาการเจ็บหน้าอกร่วมกับภาวะช็อคจากหัวใจ เหงื่ออก ตัวเย็น เป็นลม
ตรวจคลื่นไฟฟ้ าหัวใจ 12 ลีด (Lead)
กล้ามเนื้อหัวใจบาดเจ็บจะพบระยะระหว่าง ST ยกสูง (ST Elevation )
ถ้าทำได้เร็วเท่าไหร่จะช่วยให้การวินิจฉัยเร็วเท่านั่น มาตรฐาน 10 นาที
ถ้ามีกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด จะพบคลื่น T หัวกลับ
4.ตรวจหาระดับเอนไซม์ของหัวใจ (Cardiac enzyme)
5.การตรวจคลนไฟฟ้หัวใจขณะออกกลังกาย
(Exercise stress test)
6.การตรวจสวนหัวใจโดยการฉีดสารทบแสง
(Coronary angiography)
การรักษา
ลดการทำงานของหัวใจ >>Absolute bed
rest
หลีกเลี่ยงสาเหตุหรือปัจจัยเสี่ยงที่ทำให้เกิด
อาการเจ็บหน้าอก
การรักษาทางยาชนิดตางๆ เพื่อเพิ่มออกซิเจนที่มา
เลี้ยงหัวใจทขาดเลือดโดยการให้ยาขยายหลอดเลือด
ยากลุ่มไนเตรต (Nitrates)
ยาปิดกั้นเบต้า
ยาต้ารเเคลเซียม
ยาต้านการเเข็งตัวของเลือด
2.การสวนหัวใจขยายเส้นเลือดหัวใจ coronary
Percutaneous translumincoronary
angiography-PTCAal
Coronary atherectomy
Intracoronary stent
Eximer laser coronary angioplasty
การผ่าตัด
เป็นการผ่าตัดทางเบี่ยงเพื่อให้เลือดเดินทางอ้อมไปเลี้ยงส่วนปลาย Coronary artery bypass graft
Cardioplegia
CPB เเละ OPCAB
บทบาทพยาบาล
ประเมินสภาพผู้ปว่ยอย่างรวดเร็ว
ประสานงานตามทีมผู้ดูแลผู้ป่วยกลุ่มหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน
ให้ออกซิเจนเมื่อมีภาวะ hypoxemia
พยาบาลต้องตัดสินใจตรวจคลื่นไฟฟ้ าหัวใจทันท
เฝ้ าระวังอาการและอาการแสดงของการเกิด cardiac arrest
การพยาบาลกรณ EKG show ST
elevation หรอพบ LBBB ที่เกิดขนใหม
พยาบาลต้องประสานงานจัดหาเครื่องมือประเมินสภาพและดูแล
รักษาผู้ป่วยให้เพียงพอ
เตรียมความพร้อมของระบบสนับสนุนการดูแลรักษา
ปรับปรุงระบบส่งต่อผู้ป่ วยให้รวดเร็วและปลอดภัย
การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับยากลุ่ม Thrombolytic
ยาละลายลิ่มเลือดในปัจจุบันมี 2 กลุ่ม
fibrin non-specific agents
เช่น Streptokinase
กลุ่ม fibrin specific agents เชน
Alteplase (tPA), Tenecteplase (TNK-tPA
ข้อบ่งชี้
ใช้ในผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัย ว่ามีภาวะกล้ามเนื้ ว่ามีภาวะกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพันชนิดมี ST-elevate ภายใน 24 ชม.หลังจากมีอาการโดยไม่มีข้อห้าม
การดูเเล
ระยะก่อนให้ยา
1) เตีรยมผป่วยและญาติ อธิบาย
ประโยชน์ ผลขางเคียง เปิดโอกาสให้
ซักถามและตัดสนใจรับการรักษา
2) ประเมินการให้ยาตามแบบฟอร์ม
การให้ยาละลายลมเลือดดโดยประเมิน
ถึงข้อบงชี้ข้อห้ามโดยเด็ดขาด
3) ดแลใหผปวยหรอญาต เซน
ยนยอมในการใหยา streptokinase
4) ก่อนใช้ยาควรติดตามค่า BP, PT, PTT, platelet count, hematocrit และ signs of
bleeding
5) เตรียมอุปกรณ์โดยเตรียมอุปกรณ์ช่วยชีวิตให้พร้อมใช้งาน เครื่องติดตามการทางานของหัวใจ
6) ทบทวนคำสั งของแพทย์
7) ตรวจสอบยา
8) เตรียมยา streptokinase 1,500,000 unit (1 vial) ละลายยาด้วย 0.9 % normal
saline 5 ml โดยเติมอย่างช้า ๆ บริเวณข้างขวดแล้วหมุนและเอียงขวดอย่างช้า ๆ ไม่ควรเขย่าขวด
เนื่องจากทาใหเ้กิดฟอง จากน้นัเจอืจางตอ่ ดว้ย 0.9% NSS หรือ D5W ใหไ้ดป้รมิาตรท้งัหมดเป็ น 45
ml. แตอ่ าจจะเจอืจางมากกว่าน้ีโดยใชส้ารละลายปรมิาตร 45 ml. เจือจางในปริมาตรสูงสุด 500
ml. ความเข้มข้นสูงสุดคือ 1.5 mu/50 ml. หลังจากละลายยาสามารถเก็บได้นาน 24 ชั ่วโมงใน
ตู้เย็นไม่เกินอุณหภูมิ 4 องศาเซลเซียส การบริหารยาให้ยาทาง IV หรือ intracoronary เท่าน้นั
หลีกเลี่ยงการให้ IM และห้ามผสมกับยาอื่น
ระยะที่ 2 การพยาบาลระหว่างให้ยา
3) เฝ้ าติดตามอาการต่างๆอย่างใกล้ชิด
2) ดูแลผู้ป่ วยอย่างใกล้ชิด อยู่เป็ นเพื่อนผู้ป่ วยอย่างใกล้ชิดตลอดเวลาระหว่างให้ยาเพื่อลด
ความกลัวและความวิตกกังวล
1) ดูแลให้ผู้ป่ วยได้รับยาละลายลิ่มเลือด (streptokinase) 1.5 ล้านยูนิต ผสม
0.9%NSS 100 มิลลิลิตรหยดให้ทางหลอดเลือดด าใน 1 ชั่วโมง โดยให้ยาผ่าน
infusion pump และตรวจสอบเครื่อง ให้มีประสิทธิภาพและพร้อมใช้งานได้ตลอดเวลา
ก่อนให้ยาควรตรวจสอบความถูกต้องของปริมาณยาที่ให้กับเวลาที่ใช้ในการให้ยาผ่านเครื่อง
Infusion pump
ระยะที่ 3 การพยาบาลหลังให้ยา
3) Monitoring EKG ไว้ตลอดเวลาจนครบ 72 ชั่วโมง
2) ประเมินสัญญาณชีพ ทุก 15 นาทีใน 1 ชั่วโมงแรก ทุก 30 นาที ในชั่วโมงที่สอง และทุก 1
ชั่วโมง จนสัญญาณชีพปกติ และประเมินสัญญาณชีพของทุก 15 นาที เมื่อมีอาการ
เปลี่ยนแปลงพร้อมรายงานแพทย
1) ประเมินระดับความรู้สึกตัว(GCS) ทุก 5 - 10 นาทีใน 2
ชั่วโมงแรก หลังจากนั้นประเมินทุก 1 ชั่วโมง จนครบ 24 ชั่วโมง เนื่องจากพบว่า การเกิด
เลือดออกในสมองสามารถเกิดได้ใน 24 ชั่วโมงแรกหลังการได้รับยาละลายลิ่มเลือด
4) สังเกตและประเมินอาการและอาการแสดงของภาวะเลือดออกง่ายหยุดยากของอวัยวะ
5) ติดตามคลื่นไฟฟ้ าหัวใจ 12 Lead ทุก ๆ 30 นาท
6) ควรส่งต่อผู้ป่ วยเพื่อท าการขยายหลอดเลือดหัวใจmuj,u8;k,rihv,
7) แนะน าผู้ป่ วยให้ท ากิจวัตรประจ าวันด้วยความระมัดระวังและเบา ๆ งด
การแปรงฟันในระยะแรก
8) ดูแลให้การพยาบาลด้วยความนุ่มนวล
9) ระมัดระวังไม่ให้เกิดบาดแผลเนื่องจาก มีโอกาสเกิดภาวะเลือดออกง่าย
หยุดยา งดการให้ยาเข้ากล้ามเนื้ อ
10) ส่งตรวจและติดตามผล CBC, Hct และ coagulogram ตาม
แผนการรักษาของแพทย
11) บันทึกสารน้าเข้าออก (intake/output) ทุก 8 ชั่วโมง
12) ดูแลให้ยา enoxaparin i.v. then s.c. ต่อเนื่องตามแผนการรักษา
ประมาณ 8 วัน10
13) แนะน าให้ผู้ป่ วยเข้าใจ จดจ าวันที่ได้รับยา streptokinase
14) แนะน าการปฏิบัติตนที่เหมาะสมเกี่ยวกับโรคเพื่อป้ องกันการกลับเป็นซ า
Angina
Unstable angina
Myocardial infarction
<----------------
<------------
<-------------