Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
มาตรฐานการศึกษา : ระบบการวัดผลแบบ OKRs - Coggle Diagram
มาตรฐานการศึกษา :
ระบบการวัดผลแบบ OKRs
OKRs กับการประกันคุณภาพการศึกษา
“เป้าหมาย”
เป็นตัวกำกับที่สะท้อนให้เห็นถึงการแสดงออกหรือพฤติกรรมของบุคคลที่มีต่อเหตุการณ์หนึ่ง ๆ
วัตถุประสงค์หรือการคาดคะเนของแต่ละบุคคลเกี่ยวกับผลลัพธ์ที่คาดหวังในอนาคต
“ทฤษฎีการตั้งเป้าหมาย”
พัฒนาขึ้นเพื่อทำนายและอธิบายอิทธิพลของแรงจูงใจส่วนบุคคลที่มีต่อการแสดงออกของพฤติกรรมในการทำงาน
ความหมาย : OKRs
คือ เครื่องมือในการตั้งเป้าหมายและกำหนดตัววัดผล
Objective and Key Results
Objectives คือ วัตถุประสงค์หลัก เป็นการบอกจุดมุ่งหมาย
Key Results คือ ผลลัพธ์หลักเป็นการบอกว่าจะทราบได้อย่างไร ว่าเราบรรลุจุดมุ่งหมายนั้น
การขับเคลื่อนและพัฒนาคุณภาพการศึกษา
MBOs
ขั้นตอนแรก
คือ กระบวนการพัฒนาหลักสูตรที่ต้องเน้นให้มีการประสานงานร่วมกัน
ขั้นตอนที่สอง
คือ กระบวนการกำหนดองค์ประกอบและโครงสร้างภายในระบบการเรียนการสอน
แนวคิดการสร้างวัตถุประสงค์และผลลัพธ์หลัก
มีเฉพาะเรื่องวัตถุประสงค์เท่านั้น
มักจะมีการประเมินผลรายปีเป็นหลัก
จะมีลักษณะที่แต่ละคนจะสนใจเฉพาะวัตถุประสงค์ของตนเป็นหลัก
เป็นระบบที่เน้นการบริหารแบบบนล่าง
ใช้เชื่อมโยงกับผลตอบแทนของพนักงาน
เป็นระบบที่มักจะทำให้คนไม่กล้าเสี่ยง
หลักการสำคัญของ OKRs
เน้นเฉพาะเรื่องที่สำคัญ
เน้นความเชื่อมโยงและมีการทำงานเป็นทีม
เน้นผู้รับผิดชอบและติดตามได้ง่าย
เน้นการตั้งเป้าหมายที่ท้าทาย
ระบบ KPIs
มุ่งเน้นการรวมศูนย์การตัดสินใจ (Centralization) เป็นหลัก
แตกต่างจาก ระบบ OKRs ที่จะเน้นการกระจายศูนย์การตัดสินใจไปสู่ผู้ปฏิบัติ (พนักงาน)
ขั้นตอนการออกแบบ
องค์ประกอบ
การออกแบบวัตถุประสงค์
มีลักษณะเชิงคุณภาพ (นอกเหนือจากงานประจำ)
จำนวนไม่เกิน 3-5 ข้อ กำหนดเป็นรายไตรมาส จนถึงรายปี
กำหนดกลยุทธ์หลักขององค์กร ให้สอดคล้องทั้งระดับหน่วยงาน และระดับผู้ปฏิบัติ
การออกแบบผลลัพธ์หลัก
มีความชัดเจนวัดผลได้ไม่มีความคลุมเครือ
มีจำนวนไม่มากนัก โดยทั่วไปจะมีไม่เกิน 5 ผลลัพธ์หลักต่อวัตถุประสงค์ 1 ข้อ
การเขียนผลลัพธ์หลัก ต้องมีการออกแบบค่าเป้าหมายและต้องมีความท้าทาย เป็นไปได้
การตรวจสอบ OKRs
มีความท้าท้าย เป็นไปได้ ไม่ง่าย ไม่ยาก
ผลลัพธ์หลัก ต้องวัดผลได้ชัดเจน
มีความสอดคล้องกับ OKRs ในระดับบน (Vertical Alignment) และ OKRs ในระหว่าง หน่วยงาน (Horizontal Alignment)
ไม่ใช่กิจกรรมที่ต้องดำเนินการ แต่เป็นการ ตั้งวัตถุประสงค์พร้อมทั้งผลลัพธ์หลักที่วัดผล ได้ชัดเจน
OKRs กับการนำไปใช้ทางปฏิบัติ
OKRs ที่ต้องทำ
(Committed OKRs)
Committed OKRs : วัตถุประสงค์ที่ต้องทำ เป้าหมายนี้ คือ ตัวชี้วัดต่าง ๆ
Objective : WHAT
แสดงออกถึงเป้าหมายและความตั้งใจ
ต้องท้าทายแต่เป็นจริงได้
จับต้องได้ มีวัตถุประสงค์ที่ชัดเจน ไม่คลุมเครือ
ความสำเร็จของวัตถุประสงค์จะต้องสะท้อนคุณค่าได้อย่างชัดเจน
OKRs ที่อยากทำ
(Aspirational OKRs)
Aspirational : WHY
แสดงออกถึงความสำเร็จที่วัดความคืบหน้าได้ และถ้าทำสำเร็จสามารถบอกได้ล่วงหน้า
ต้องเป็นการเขียนถึงผลลัพธ์ ไม่ใช่กิจกรรม
ต้องรวบรวมหลักฐานแห่งความสำเร็จ เชื่อถือได้ เข้าถึงได้ง่าย
ขั้นตอนหลักนำ OKRs ไปใช้ในทางปฏิบัติ
การทำความเข้าใจในแนวคิดของ OKRs
เริ่มต้นออกแบบ OKRs
สื่อสารให้ทุกคนเข้าใจวิธีการนำเอา OKRs ไปใช้
การนำ OKRs ไปใช้ในทางปฏิบัติ
หลักการสำคัญในการใช้ OKRs
CPR
C : Conversation หรือ การสนทนา
F : Feedback หรือ การให้ข้อมูลย้อนกลับ
R : Recognition หรือ การให้การยอมรับ
OKRs กับการประกันคุณภาพการศึกษา
เป็นเครื่องมือทางเลือกในการนำไปใช้ในสถานศึกษา สามารถติดตามความก้าวหน้าของเป้าหมายตลอดเวลา
ทบทวน ปรับเปลี่ยนตามสถานการณ์ที่เกิดขึ้น
Tailored Made มีความยืดหยุ่นและปรับใช้ให้เข้ากับบริบท
เป็นเครื่องมือที่สามารถใช้ในการวิเคราะห์หาจุดอ่อน จุดแข็งขององค์กร
ปัญหาที่เกิดจากใช้ OKRs ในสถานศึกษา
การตั้งเป้าหมายใน OKRs ไม่ท้าทาย เกิดจากความกลัว หากไม่สามารถทำได้บรรลุเป้าหมาย
นำงานประจำทั่วไป ที่ไม่สำคัญมาตั้งเป็นวัตถุประสงค์
การตั้งวัตถุประสงค์ไม่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์องค์กร
การตั้งผลลัพธ์หลักจำนวนไม่เหมาะสมมากหรือน้อยไปและไม่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
บทสรุปของ OKRs
ประโยชน์ของการศึกษาที่มีต่อ
สถานศึกษา
ภาครัฐ
กำหนดวัตถุประสงค์และผลลัพธ์หลักให้สอดคล้องกับนโยบายและโครงการ
1. โฟกัสและจัดลำดับความสำคัญ
กำหนดช่วงเวลาดำเนินการ OKRs
เลือกวัตถุประสงค์หลักเพียง 3-5 ข้อ
เน้นการกำหนดวัตถุประสงค์ระดับฝ่ายงาน
ตัวชี้วัดผลงานไม่เกิน 5 ข้อ /วัตถุประสงค์
กำหนดผลลัพธ์ที่สำคัญทั้งเชิงคุณภาพและ ปริมาณควบคู่กันไป
2) ปรับแต่งและเชื่อมโยงการทำงานเป็นทีม
สร้างแรงบันดาลใจให้กับบุคลากรในองค์กร
นำเสนอ เพื่ออธิบายว่า เพราะอะไร OKRs ตัวนี้สำคัญต่อองค์กร
กำหนดรูปแบบการทำงานร่วมระหว่างหน่วยงาน
3) ติดตามผลเพื่อแสดงความรับผิดชอบ
สร้างวัฒนธรรมความรับผิดชอบต่อผลงาน
ให้ทุกคนในองค์กรเห็นคุณค่าของรางวัลและสิ่งจูงใจภายนอกให้น้อยลง
กำหนดผู้รับผิดชอบที่มีหน้าที่ติดตาม ความก้าวหน้า
ปรับเปลี่ยน เพิ่มเติม OKRs ตามความเหมาะสม แม้ว่าอยู่ระหว่างการดำเนินการ
4) เป้าหมายที่ท้าทายเพื่อผลงานที่แปลกใหม่
สร้างความแตกต่างระหว่างเป้าหมายที่ต้องทำ และที่อยากทำ
OKRs เน้นการเติบโตแบบค่อยเป็นค่อยไป
การออกแบบ OKRs เปลี่ยนแปลงได้ตลอดเวลา
ข้อจำกัด
ไม่สามารถกำหนด OKRs ประเภทที่ ต้องทำกับประเภทที่อยากทำให้แตกต่างกันได้
ขาดความเชื่อมั่นในการกำหนด OKRs ประเภทที่อยากทำ
กำหนดผลลัพธ์ที่สำคัญไม่เพียงพอต่อการบรรลุเป้าหมายตามวัตถุประสงค์
ข้อเสนอแนะ
Inspirational : เกิดแรงบันดาลใจ
Attainable: สามารถบรรลุได้
Doable in 3 months: ทำได้ใน 3 เดือน
Controllable by the team: อยู่ภายใต้การควบคุมของเรา
Provide organization value: สร้างคุณค่าให้องค์กร
Qualitative: กำหนดเป้าเชิงคุณภาพ
ตัวอย่างการออกแบบระบบ OKRs
ตัวอย่าง OKRs ผู้บริหารสถานศึกษา
วัตถุประสงค์หลัก
: ดูแลเด็กให้มีพัฒนาการเป็นไปตามวัย
ผลลัพธ์หลัก
: เด็กเล็กที่อยู่ในความดูแลมีพัฒนาการตามวัยที่กำหนดร้อยละ XX
ตัวอย่าง OKRs คุณครู
วัตถุประสงค์หลัก
: เด็กมีสุขภาพแข็งแรงสมบูรณ์
ผลลัพธ์หลัก
: จำนวนวันที่ป่วยของเด็กที่อยู่ในความดูแลต่ำกว่า xx วันต่อไตรมาส